340 likes | 497 Views
LAN / WAN. LAN. ระบบเครือข่ายท้องถิ่น ( Local Area Network, LAN ). WAN. ระบบเครือข่ายระยะไกล ( Wide Area Network, WAN ). อุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่าย. เมื่อไหร่จึงจะใช้ LAN ข้อดี และ ข้อเสียของ LAN ลักษณะการทำงานของเครือข่าย LAN ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบเครือข่าย LAN
E N D
LAN ระบบเครือข่ายท้องถิ่น ( Local Area Network, LAN ) WAN ระบบเครือข่ายระยะไกล ( Wide Area Network, WAN ) อุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่าย
เมื่อไหร่จึงจะใช้ LAN • ข้อดีและข้อเสียของLAN • ลักษณะการทำงานของเครือข่าย LAN • ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบเครือข่าย LAN • Topology ของระบบเครือข่าย LAN • Media Access Control Method (MAC) • Network Protocol • มาตรฐานของระบบเครือข่าย LAN • ชนิดของ LAN • Hardware ของเครือข่าย LAN • Software ของเครือข่ายLAN • LAN ของบริษัทต่าง ๆ • การจัดการระบบเครือข่าย LAN LAN
เมื่อไหร่จึงจะใช้ LAN • 1. ร่วมใช้ไฟล์ข้อมูลและโปรแกรมแอปพลิเคชัน • 2. ร่วมใช้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ราคาแพง • 3. ต้องการสื่อสารข้อมูลด้วยความเร็วสูง • 4. ต้องการใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
ข้อดีและข้อเสียของLAN 1. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน 2. ประหยัดค่าใช้จ่าย 3. สะดวกกับผู้ใช้ 4. ง่ายต่อการควบคุม ข้อดี 1. ราคาค่อนข้างสูง 2. ระบบอื่นที่สามารถทำงานได้เช่นเดียวกันหรือดีกว่า เช่น ระบบ On-Line 3. ระบบการรักษาความปลอดภัยยังไม่ดีพอ 4. ดูแลรักษาได้ยาก 5. ไม่สามารถใช้งานระบบฐานข้อมูลได้เต็มที่ ข้อเสีย
ประเภทของเครือข่าย WAN • รูปแบบของเครือข่าย WAN WAN
ลักษณะการทำงานของเครือข่าย LAN LAN แบ่งลักษณะการทำงานได้เป็น 2 ประเภทคือ 1. Peer - to - Peer เครื่องแต่ละเครื่องทำงานในลักษณะ เท่าเทียมกันคือ PC ในระบบจะเป็นทั้ง Client และ Server ขึ้นอยู่กับว่าขณะนั้นเครื่องไหนเป็นผู้ร้องของทรัพยากรหรือเป็นผู้แบ่งปัน มักทำในระบบที่มีขนาดเล็ก ๆ 2. Client - Server
Client - Server มีเครื่องขนาดใหญ่ ซึ่งมีโปรเซสเซอร์ 1 ตัวขึ้นไป ทำหน้าที่เป็น Server ซึ่งแม่ข่ายทำหน้าที่ควบคุมความปลอดภัยในระบบ จัดการความคับคั่งในระบบ หยิบยื่นทรัพยากรต่าง ๆ ให้แก่ Client ซึ่งได้แก่ เครื่อง PC
ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบเครือข่าย LAN • Network Operating System • Server • Workstation • Network Interface Card • Cabling System • Twisted-pair Cable • Coaxial Cable • Fiber Optic Cable • รังสีอินฟราเรดและคลื่นวิทยุ • Shared Resources and Peripherals
Topology ของระบบเครือข่าย LAN • Bus Topology • เครื่อง PC เชื่อมต่อเข้ากับสายสัญญาณหลักที่เรียกว่า trunk หรือ backbone ใช้กันมากในระบบ LAN แบบ Ethernet • Ring Topology • กลุ่มของ PC ที่ต่อเข้ากันด้วยสายสัญญาณจากเครื่องหนึ่งไปอีกเครื่องหนึ่งวนกันไปเรื่อย ๆ เป็นวงกลม ใช้กับ LAN แบบ Token Ring • Star Topology • PC ทุกเครื่องจะเชื่อมสายสัญญาณโยงเข้าหาจุดศูนย์กลางจุดหนึ่ง หรือ HUB ซึ่งอาจเป็นเครื่อง server ใช้กับ LAN แบบ Arcnet โดย HUB ทำหน้าที่กระจายสัญญาณ
Media Access Control Method (MAC) • CSMA/CD • ( Carrier Sense Multiple Access/Collision Detection ) • ทุก node ของเครือข่ายเห็นข้อมูลที่ไหลอยู่ในสายสื่อสารของเครือข่าย แต่มีโหนดปลายทางที่ระบุไว้เท่านั้นที่จะทำการรับข้อมูลเข้าไป • Token Passing • ใช้หลัก Token มีกลุ่มบิตที่วิ่งไปตามโหนดต่างๆ รอบเครือข่าย แต่ • ละโหนดจะตรวจรับข่าวสารที่ส่งมาถึงตนจาก Token
Network Protocol โปรโตคอลของระบบเครือข่าย (Network Protocol) หรือที่นิยมเรียกกันว่า โปรโตคอลสแตก (Protocol Stack) ก็คือชุดของกฎหรือข้อตกลงในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งได้แก่ • NetBIOS และ NetBEUI • IPX/SPX • TCP/IP • IP Layer • TCP Layer
มาตรฐานของระบบเครือข่าย LAN IEEE 802.3 และ Ethernet IEEE 802.5 และ Token Ring IEEE 802.4 และ Token Bus มาตรฐาน FDDI
ชนิดของระบบเครือข่าย LAN แยกตามบริษัท • ระบบเครือข่ายแบบเท่าเทียมของ Artisoft • ระบบเครือข่ายแบบ LAN เท่าเทียมของแมคอินทอช • ประกอบด้วย LocalTalk, EtherTalk,TokenTalk • ระบบเครือข่ายแบบ LAN เท่าเทียมของ Novell • ระบบเครือข่ายแบบ LAN เท่าเทียมของ Microsoft รายละเอียดอ่านได้จากหนังสือ เรียนรู้และเข้าใจการทำงาน Local Area Network เรียบเรียงโดย กฤษฎา สิงหวงส์ ที่หอสมุดคุณหญิงหลง
ชนิดของ LAN • ARCnet (Attached Resource Computer network) • เป็นระบบเน็ตเวิร์กแบบ baseband ที่ใช้วิธีการ token passing คือแต่ละโหนดสามารถใช้งานเน็ตเวิร์กได้ก็ต่อเมื่อได้รับ tokenซึ่งส่งมาจากโหนดอื่น • Ethernet • เป็นเน็ทเวิร์กแบบที่ใช้งานกันมากที่สุดในปัจจุบัน ซึ่งมีหลายรูปแบบ • ให้เลือกใช้ โดยอาศัยการผ่านสัญญาณแบบ baseband เป็นหลัก • Token Ring • แต่ละโหนดในเน็ตเวิร์ก จะใช้ packet ของข้อมูลที่เรียกว่า token • ในการตัดสินว่าโหนดใดจะได้รับสิทธิในการส่งข้อมูล ในระบบ LANที่ใช้ • เครื่องพีซีเป็นหลัก
การจัดการระบบเครือข่าย LAN หน้าที่หลัก 5 ประการของการจัดการระบบเครือข่าย คือ 1.การจัดการองค์ประกอบของระบบ (Configuration Management) 2. การจัดการในกรณีระบบเสียหาย (Fault management) 3.การจัดการเกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบ (Performance management) 4.การจัดการด้านความปลอดภัยของระบบ (Security management) 5.การจัดการบัญชีค่าใช้จ่ายของระบบ (Accounting management
ประเภทของเครือข่าย WAN เครือข่าย WAN สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. เครือข่ายส่วนตัว( Private Network ) 2.เครือข่ายสาธารณะ( Public Data Network )
เครือข่ายส่วนตัว ( Private Network ) เป็นระบบเครือข่ายซึ่งมีการใช้งานเฉพาะองค์กรที่เป็นเจ้าของเครือข่าย อยู่ เพื่อเชื่อมโยงสาขาต่าง ๆ ใน Physical Layer แต่ยังต้องใช้ช่องทาง การสื่อสารสาธารณะ เช่น สายโทรศัพท์ สายเช่า ดาวเทียม เป็นต้น ข้อดีของเครือข่ายส่วนตัว ( Private Network ) ๏ รักษาความลับของข้อมูล ๏ ควบคุมดูแลเครือข่ายและขยายเครือข่ายไปยังจุดที่ต้องการ ข้อเสียของเครือข่ายส่วนตัว ( Private Network ) ๏ ถ้าไม่มีการส่งข้อมูลตลอดเวลา จะเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่าเครือข่ายสาธารณะ ๏ ถ้าส่งข้อมูลระหว่างสาขา ต้องมีการจัดหาช่องทางสื่อสารระหว่างแต่ละสาขา
เครือข่ายสาธารณะ ( Public Data Network ) เป็น WAN ซึ่งองค์กรที่ได้รับสัมปทานจัดตั้งขึ้น เพื่อให้คนทั่วไป หรือองค์กรอื่นๆ ที่ไม่ได้วางเครือข่ายเองแบ่งกันเช่าใช้งานได้ ระบบนี้ นิยมใช้ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายแบบ WAN กันมาก ข้อดีของเครือข่ายสาธารณะ ( Public Data Network ) ๏ ค่าใช้จ่ายต่ำกว่าเครือข่ายส่วนตัว ๏ มีบริการให้เลือกอย่างหลากหลาย ข้อเสียของเครือข่ายสาธารณะ ( Public Data Network ) ๏ ไม่สามารถเก็บรักษาความลับข้อมูลได้
รูปแบบของเครือข่าย WAN 1. เครือข่ายแบบสลับวงจร (Circuit-Switching Network) 2. เครือข่ายแบบสลับแพคเกต ( Packet Switching Data Network ) 3. ISDN 4. ATM(Asynchronous Transfer Mode)
Circuit-Switching Network เป็นการเชื่อมต่อทางกายภาพระหว่างจุดสองจุด เพื่อให้ติดต่อส่งข้อมูลกัน โดยการเชื่อมวงจรอาจเชื่อมอยู่ตลอดเวลาก็ได้ เช่น ระบบโทรศัพท์ หรืออาจเป็นเครือข่ายอนาล็อก เช่น โทรศัพท์ หรือเครือข่ายดิจิตอล เช่น ISDN ระบบแบบสลับวงจรจะเป็นการเชื่อมต่อระหว่างจุดต่อจุด ( point-to-point) ข้อดี ๏ มีอัตราความเร็วในการสื่อสารที่คงที่ตลอดเวลา ข้อเสีย ๏ ต้องมีการเชื่อมต่อกันทุก ๆ จุดที่มีการติดต่อกัน
Packet Switching Data Network ใช้วิธีแบ่งข้อมูลที่จะส่งระหว่างจุดสองจุดออกเป็น packet เล็กๆ เพื่อทำการส่งไปยัง จุดหมายที่ต้องการ ข้อดี คือ ทำให้ใช้ช่องทางการสื่อสารข้อมูลเพียงช่องทางเดียว ในการเข้าสู่เครือข่าย ไม่ว่าจะมีการติดต่อกันระหว่างกี่จุดก็ตาม
ISDN ( Integrated Services Digital Network ) เป็นระบบเครือข่ายแบบดิจิตอลซึ่งส่งได้ทั้งข้อมูล เสียง และภาพ อุปกรณ์ต่างๆ เชื่อมเข้ากับ ISDN ได้โดยตรงผ่านทางตัวเชื่อมแบบดิจิตอล ช่องทาง(Channel)ของ ISDN มีความเร็วสูงถึง 64 Kbps บริการของ ISDN จะสมารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. Narrow Band ISDN (ISDN - N) ๏ Basic Rate Interface (BRI) ๏ Primary Rate interface (PRI) 2. Broadband ISDN (ISDN – B)
ATM(Asynchronous Transfer Mode) เทคโนโลยีใหม่ที่กำลังได้รับความสนใจ เนื่องจากมีความสามารถในการรับรองการจัดหา bandwidth ทำให้เหมาะกับการ ใช้งานแอพพลิเคชันใหม่ๆ ที่ต้องมีการส่งข้อมูลจำนวนมากที่สัมพันธ์กัน ATM สามารถใช้กับสายเคเบิลที่มีอยู่แล้วที่ไม่ใช้สาย Fiber ได้ โดยเพียงแต่เปลี่ยน adapter และ switches ความเร็วจะอยู่ระหว่าง 25 ถึง 155 Mbps
อุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่าย • Repeater • หน้าที่ คือขยายความแรงของสัญญาณและส่งกลับออกมาใหม่ • Brigde • ใช้เชื่อมโยงเครือข่ายสองเครือข่ายที่แยกจากกันบริดจ์จึงเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่าย เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับอีเทอร์เน็ต • Rounter • ใช้เชื่อมโยงเช่นเดียวกับบริดจ์ แต่มีความสามารถที่จะจัดการระบบเครือข่าย • และส่วนย่อยของระบบเครือข่ายที่ถูกกำหนดขึ้นอย่างซับซ้อนได้ • Gateway • หน้าที่ คือ คอยผ่านข้อมูลไปมาระหว่างสองเนตเวิร์กที่แตกต่างกัน รวมไปถึง • การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของข้อมูลไปให้อยู่ในรูปแบบที่เนตเวิร์กแต่ละข้างต้องการ
Hardware ของเครือข่าย LAN • แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย ( Network Interface Card : NIC ) บางครั้งเรียกว่า การ์ดแลน • HUB เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยจัดการระบบการวางสายเป็นแบบศูนย์กลางได้ • Hub แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ • 1. Passive Hub • 2. Active Hub • ระบบการสำรองข้อมูลของระบบเครือข่าย • คลังข้อมูลของระบบเครือข่ายและ RAID • (redundant array of inexpensive disks) • UPS ของระบบเครือข่าย UPS มีอยู่ 2 แบบคือ • 1. standby UPS 2. online UPS
Software ของเครือข่าย LAN • MS-Dos • Client/Server ภายใต้ OS/2 • Word processing • Spreadsheet • ข่าวสาร Electronic • Groupware • Fax Server