1 / 48

- ชีวาลัย วัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา - มนุษย์กับการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม

มนุษย์และสิ่งแวดล้อม. - ชีวาลัย วัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา - มนุษย์กับการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม. โดย. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนงค์พร สมานชาติ Sanong@su.ac.th Asmanchat@yahoo.com. มนุษย์สัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมอย่างไร. มนุษย์กับชีวาลัย. มนุษย์กับการดำรงชีวิต. ระบบนิเวศ Ecosystem.

Download Presentation

- ชีวาลัย วัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา - มนุษย์กับการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มนุษย์และสิ่งแวดล้อม - ชีวาลัย วัฒนธรรม และพระพุทธศาสนา - มนุษย์กับการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม

  2. โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์อนงค์พร สมานชาติ Sanong@su.ac.th Asmanchat@yahoo.com

  3. มนุษย์สัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมอย่างไร

  4. มนุษย์กับชีวาลัย

  5. มนุษย์กับการดำรงชีวิตมนุษย์กับการดำรงชีวิต

  6. ระบบนิเวศ Ecosystem

  7. ทางกายภาพและชีวภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม

  8. ชีวาลัย (Biosphere) เป็นส่วนสนับสนุน เรื่อง อากาศหายใจ ดิน น้ำ สิ่งมีชีวิตในชีวาลัย ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ระหว่างอินทรีย์ ของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม

  9. ธรณีภาค(Lithosphere) ส่วนของโลกที่เป็นพื้นดิน ชั้นหิน อันเป็นส่วนดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิต

  10. อุทกภาค(Hydrosphere) ส่วนหนึ่งของโลกที่เป็นน้ำ ได้แก่ ทะเลสาบ แม่น้ำ น้ำใต้ดิน มหาสมุทร ลึกโดยเฉลี่ย 3,794 เมตร(12,448 ฟุต)

  11. อากาศภาค(Atmosphere) บรรยากาศห่อหุ้มโลก หนากว่า 1,100 กิโลเมตร ( มากกว่า 700 ไมล์ ) รวมตัว ต่ำกว่า 5.6 กม. (63.5 ไมล์)

  12. ภาพประกอบชีวาลัยBiosphere

  13. มนุษย์คืออะไร 1. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 2. ลำตัวตั้งตรง ตั้งฉากกับพื้น Homo Electus Homo = Human Elcetus = ตั้งฉาก / ตั้งตรง

  14. 3. เคลื่อนที่เปลี่ยนอิริยาบถได้รวดเร็ว เช่น นั่ง นอน ยืน เดิน หมุน ก้ม เงย 4. มีมือและนิ้วที่มีประสิทธิภาพ

  15. 5. มีมันสมองที่มีประสิทธิภาพ คือ 1 : 50 น้ำหนักสมอง : น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม : 50 กิโลกรัม

  16. 5.สมองมีความย่น หรือ มีคลื่น • 6.มีเซลล์ประสาท(Neuron) 10-15ล้านเซลล์

  17. ความแตกต่าง ของมนุษย์กับสัตว์

  18. 1. มนุษย์มีวัฒนธรรม เพราะ มนุษย์เรียนได้จาก สัญลักษณ์ ( Symbol ) เช่น ภาษา 2. จากการวางเงื่อนไข จากการสังเกต / จากประสบการณ์/เกิดความเข้าใจ ( Understanding)

  19. 3. สัตว์เรียนรู้ได้จาก สัญชาตญาณ(Instinet) หรือ จากสัญญาณ (Signs) ไม่สามารถสั่งสมประสบการณ์ได้

  20. 4. มนุษย์มีภาษาที่พัฒนา เช่น เรียนรู้จากภาษาเขียน ภาษาใบ้ สีหน้า กิริยาท่าทาง ( เช่น Hit – Hiking )

  21. 5. การสืบพันธุ์ แรงขับทางเพศต่างกัน - สัตว์ เป็นฤดู - มนุษย์ ไม่มีฤดู 6.มนุษย์มีพฤติกรรมที่ปราศจากสัญชาตญาณ(Instinet)

  22. 7.มนุษย์ต้องพึ่งพาผู้อื่นในยามเยาว์วัย7.มนุษย์ต้องพึ่งพาผู้อื่นในยามเยาว์วัย 8. มนุษย์ต้องปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม 9. มนุษย์ปรับสิ่งแวดล้อมสนองตอบต่อความต้องการแห่งตน

  23. กินอาหาร เจริญเติบโต ขับถ่าย เคลื่อนไหว หายใจ สืบพันธุ์ โต้ตอบกับสิ่งแวดล้อม ถ่ายทอดลักษณะ ( ทางพันธุกรรม ) มนุษย์มีลักษณะพิเศษคือ ในแง่ชีววิทยา

  24. การทำงานของสมอง 1.หน่วยรับความรู้สึก ( Receptor ) จากสัมผัสทั้ง 5 ตา หู จมูก ลิ้น กาย รับ รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส 2. กระบวนการทำความรู้สึกสู่สมอง (canduction )

  25. 3. การแปลความหมายและสั่งการ (Modulation) รับความรู้สึกทางผัสสะต่างๆ ไปสัมพันธ์กับประสบการณ์เดิมและสมองจะสั่งการ นำไปสู่กระบวนการ ต่อไป 4. กระบวนการตอบสนอง (Effect ) ต่อสิ่งเร้า ทั้งทางพฤติกรรม สีหน้า ท่าทาง

  26. มนุษย์ในแง่พระพุทธศาสนามนุษย์ในแง่พระพุทธศาสนา • ในมหาสีหนาทสูตร พระพุทธเจ้าตรัสเกี่ยวกับการเกิดของสิ่งมีชีวิตไว้ 4 แบบ คือ 1. ชลาพุทโยนิ การเกิดของสิ่งมีชีวิตที่คลอดออกมาเป็นตัว เช่น มนุษย์ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 2.อัณฑชโยนิ อยู่ในไข่ก่อนแล้วฟักเป็นตัว เช่น เป็ด ไก่ นก

  27. 3.สังเสทชโยนิ การเกิดที่อาศัยที่ เย็น ชื้น แฉะ เช่น หนอน 4. โอปปาติกโยนิ การเกิดโดยไม่ต้องอาศัย บิดา มารดา เช่น เทวดา สัตว์นรก

  28. สัตว์โลกในแง่พระพุทธศาสนาสัตว์โลกในแง่พระพุทธศาสนา จึงหมายถึง สิ่งมีชีวิตทั้งหมด ตั้งแต่ เปรต สัตว์นรก อสูรกาย ดิรัจฉาน มนุษย์ เทวดา พรหม

  29. มนุษย์ประกอบด้วย กาย +จิต กายประกอบเป็นรูปร่าง จาก ธาตุทั้ง 4 คือ ดิน ( ของแข็ง ) น้ำ ( ของเหลว ) ลม ( แทรกได้ทุกอณูที่ว่างเปล่า ) ไฟ ( ส่วนที่เป็นอุณหภูมิ )

  30. จิตส่วนของการรับรู้ - รู้สึก จำได้ หมายรู้ - คิด - รู้แจ้ง แห่งอารมณ์ 2 อย่างนี้ทำงานคู่กัน จิตกำหนดพฤติกรรม ดี ชั่ว กายถูกสั่งการให้ทำ จิตถูกปรุงแต่งเช่นไร กายย่อมเป็นไปเช่นนั้น

  31. จิต ที่อบรมมาดี ปฏิบัติดี จิต ทำงานได้ทีละอย่าง ไปได้ไกล ไม่มีรูปร่าง อยู่ในกาย กุศลจิต จิตที่คิดดี ทำดี เกิดประโยชน์ ต่อตนเองและสังคม อกุศลจิต คิดไม่ดี เกิดผลกระทบต่อตนเอง และสังคม นักศึกษา :ศิลปากร:ควรเป็นเช่นไร?

  32. การปรับตัวของมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมการปรับตัวของมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ที่สูง ที่ราบ ใกล้ หรือ ไกลทะเล

  33. 1.ที่สูง เช่น บนภูเขาสูง หิมาลัย ภูเขาแอนดีส ที่สูงอุณหภูมิน้อย จะทำให้คนเหนื่อยเร็ว เพลีย ปวดหัว มึนหัว ต้องอาศัยการปรับตัว ให้รับก่อน ต้องฝึกหายใจ ลึก ยาว เก็บออกซิเจนสู่ร่างกายให้มาก

  34. ผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ มักมีปอดใหญ่หญิงมีครรภ์เมื่อใกล้คลอด ต้องลงมาอยู่ในพื้นที่ราบในการคลอดบุตร เพราะทารกปรับตัวไม่ได้ เมื่อทารกปรับตัวได้จึงกลับไปอยู่ถิ่นเดิม

  35. ที่ราบ ( เหมาะสมในการดำรงชีพ )

  36. ที่ใกล้ ไกลทะเล สีผิวจะมีปฏิกิริยาต่อการรับแสง เพราะรังสีของแสงจะทำปฏิกิริยากับปริมาณของเกลือโซเดียมในบรรยากาศ เป็นโรคเกี่ยวกับปอดได้ง่าย เช่น ปอดชื้น ปอดบวม ปอดอักเสบเรื้อรัง

  37. ที่อยู่อาศัยต่อการดำรงชีวิต ที่อยู่อาศัยต่อการดำรงชีวิต 1.บ้านในที่สูงอากาศ หนาวเย็น ต้องปิดมิดชิด เตี้ยมีช่องรับลมน้อย ทึบ เช่น บ้านเอสกิโม ในขั้วโลกเหนือ บ้านลักษณะกล่องสี่เหลี่ยม แบบคนบนเขาแอนดีสในแอฟริกาใต้ หรือ บ้านขุดเจาะลงใต้ดิน บนดินใช้กิ่งไม้ ฟางข้าว หญ้าแห้ง ปิดทับ

  38. 2.บ้านในเขตทะเลทราย มีลักษณะ เตี้ย ทางเข้าเล็กๆ เช่น ในเม็กซิโก ซาฮาร่า กระโจมคนเร่ร่อนแถบมองโกเลีย เป็นกระโจมมีผืนผ้าใบคลุม อาจใช้ไม้ อิฐ ดิน ปิดทับกันลม ด้านในบุด้วยขนสัตว์ หนังสัตว์ให้ความอบอุ่น

  39. 3. บ้านในเขตร้อนชื้น ฝนชุก • เช่น ในบริเวณมรสุมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีลักษณะโปร่ง อากาศถ่ายเท หลังคามักเป็นจั่วแหลม ให้น้ำฝนไหลได้สะดวก ใต้ถุนสูงบ้านยกพื้น โล่ง ได้แก่ ในประเทศไทย อินโดนีเซีย เขมร ฟิลิปปินส์ ฯลฯ

  40. 4. บ้านในเขตอบอุ่นค่อนข้างหนาว • มีลักษณะ สูง เป็นแท่ง หน้าต่างน้อย หลังคาสี่เหลี่ยมมีร่องน้ำระบายจากหลังคา เมื่อพ้นฤดูหนาว น้ำแข็งละลาย เช่น ในสหรัฐ ยุโรป

  41. การแต่งกาย • เขตหนาว ใช้สี ทึบ ทึน สีหนัก สีพื้น เช่น ดำ น้ำตาล ปกปิด มิดชิด ไม่นิยม ดอกดวงลวดลาย สีสัน • เขตร้อน ใช้สีสดใส สว่าง มีลวดลาย สีสัน

  42. โครงสร้างสีผม สีผิว สีตา เป็นไปตามชาติพันธุ์

  43. มองโกลอยด์ • รูปร่างสันทัด ผิวเหลือง กะโหลกศีรษะกลม จมูกค่อนข้างแบน • ผมสีน้ำตาลเข้ม ดำ เหยียดตรง เส้นผ่าศูนย์กลางรูปกลม • ตา ดำ น้ำตาลเข้ม คนเอเชียส่วนใหญ่

  44. นิโกรลอยด์ • รูปร่างเตี้ย ผิวดำ กะโหลกศีรษะ กลม แบน ไม่มีสัน ริมฝีปากหนา มักไม่มีขอบปาก • ผมสีดำ หยิก เส้นผ่าศูนย์กลางแบน • ตา สีดำ ได้แก่ อัฟริกัน ทมิฬในอินเดีย

  45. คอเดซอยด์ • รูปร่างสูง กะโหลกศีรษะยาว จมูกโด่งเป็นสัน • ผมสีอ่อน เส้นผ่าศูนย์กลางรูปรี • ตา สีอ่อน น้ำตาลอ่อน ฟ้าจางๆ เช่น สแกนดิเนเวีย ( ตามักจะแพ้แสงง่าย มักเป็นต้อกระจก ง่ายกว่าชาติอื่นๆ )

  46. จบแล้วจ้า

More Related