1 / 28

โลกาภิวัฒน์กับ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทย

โลกาภิวัฒน์กับ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทย. รศ.ดร.พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์. โลกาภิวัฒน์ยุคที่สอง. ประชากรหนึ่งในสามของโลกเข้าสู่ระบบตลาดทุนนิยม แรงงาน ทรัพยากรธรรมชาติ ตลาดผู้บริโภคใหม่ การปฏิวัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร วัฒนธรรม และผู้คน

leanna
Download Presentation

โลกาภิวัฒน์กับ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โลกาภิวัฒน์กับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทยโลกาภิวัฒน์กับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทย รศ.ดร.พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์

  2. โลกาภิวัฒน์ยุคที่สอง • ประชากรหนึ่งในสามของโลกเข้าสู่ระบบตลาดทุนนิยม • แรงงาน ทรัพยากรธรรมชาติ ตลาดผู้บริโภคใหม่ • การปฏิวัติเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • การไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร วัฒนธรรม และผู้คน • ต้นทุนธุรกรรมต่ำลง การเคลื่อนย้ายสินค้าและทุนระหว่างประเทศปริมาณมหาศาล นโยบายค้าเสรีแพร่หลาย • การแข่งขันในประเทศและแข่งขันข้ามพรมแดน

  3. การเปลี่ยนกระบวนทัศน์การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ • การสูญเสียความเชื่อมั่นใน “ภูมิปัญญาของรัฐบาล” • การปฏิรูปเศรษฐกิจชิลีภายใต้ปิโนเชต์ ทศวรรษ 1970-80 • รัฐบาลแธ็ทเชอร์ในอังกฤษและการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (1979-1990) แพร่ขยายไปทั่วยุโรปตะวันตก • ลดการกำกับโดยรัฐในสหรัฐอเมริกายุคเรแกน (1980-1988) • การปฏิรูปเศรษฐกิจออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ (ปลายยุค 1980) • การล่มสลายของระบบสังคมนิยม (1989-1991)

  4. กระแสปฏิรูปเศรษฐกิจยุค 1990 • ใช้ประโยชน์จากโลกาภิวัตน์ และลดผลกระทบทางลบ • การปฏิรูปในสหรัฐอเมริกายุคคลินตัน โดยเฉพาะคือ NAFTA • การปฏิรูปในเอเชีย • เกาหลีหลังวิกฤตเศรษฐกิจ 1997 (เปิดเสรี) • การเปิดประตูของจีนและอินเดียเข้าสู่ระบบตลาดทุนนิยม • การปฏิรูปโคอิซูมิในญี่ปุ่น (การแปรรูปไปรษณีย์) • การปฏิรูปในขอบเขตจำกัดในละตินอเมริกา

  5. การแพร่ขยายของความตกลงการค้าการแพร่ขยายของความตกลงการค้า • การเจรจารอบโดฮาขององค์การการค้าโลกประสบอุปสรรค • การก่อตั้ง NAFTA ในอเมริกาเหนือ กับสหภาพยุโรป (EU) • ความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (TPP) • ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2015 • อาเซียนบวกสาม อาเซียนบวกหก • ความตกลงการค้าเสรีทวิภาคีและระดับภูมิภาค (FTAs) กว่า 300 ความตกลงทั่วโลก

  6. การแข่งขันระหว่างประเทศการแข่งขันระหว่างประเทศ • การเปิดประตูของจีน-อินเดีย • โครงสร้างอุตสาหกรรมหลากหลาย จากแรงงาเข้มข้น ทุนเข้มข้น ไปถึงความรู้เข้มข้น • เน้นเทคโนโลยีระดับสูงในอิเล็กทรอนิสก์ โทรคมนาคม ยา รถยนต์ • ส่วนแบ่งตลาดการค้าในโลกเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว • มาเลเซีย: อุตสาหกรรมซอฟท์แวร์และอิเล็กทรอนิกส์ • สิงคโปร์: วาระแห่งชาติเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา (2001)

  7. การเปิดประเทศเวียดนามการเปิดประเทศเวียดนาม • การไหลเข้ามาของเงินลงทุนข้ามชาติ • ระบบการค้าและการลงทุนที่เปิดกว้างขึ้น • สมาชิกองค์การการค้าโลก (11 มกราคม 2007) • ท่าเรือน้ำลึกที่อ่าวคัมราห์น (2002; ไฮฟอง โฮจิมินห์ซิตี้) • ระบบรถไฟฟ้า Ho Chi Minh City Metro: • Monorail 3 สาย ใต้ดิน 6 สาย 167 กม. แล้วเสร็จ 2014-2020 • สนามบินนานาชาติแห่งใหม่ (Long Thanh; 100 ล้านคนต่อปี)

  8. รถไฟ Shinkansen ฮานอย-โฮจิมินห์ซิตี้ (US$ 33 billion) • ระบบรางคู่ ระยะทาง 1,630 กม. ก่อสร้าง 2011 ให้บริการ 2020 • ลดเวลาเดินทางจาก 32 ชั่วโมงเหลือ 7 ชั่วโมง • โรงกลั่นน้ำมันเชื้อเพลิงและการส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป • ผลิตน้ำมันดิบเป็นอันดับ 5 ของเอเชีย • ส่งออกไปสิงคโปร์ ประเทศไทย ออสเตรเลีย (200,000 bbl/d) • โรงกลั่นที่หนึ่ง (2009); ที่สองเริ่มสร้าง 2010; มีแผนโครงการที่สาม • โรงไฟฟ้านิวเคลียร์สองแห่ง • โรงที่หนึ่ง (US$ 6 billion) เปิด 2015; โรงที่สอง ปี 2020

  9. จัดตั้งศูนย์อวกาศแห่งชาติ เวียดนาม ที่ฮัวลัก ไฮเทคพาร์ค พื้นที่ 9 เฮคตาร์ • เป็นความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์ระหว่างเวียดนามกับญี่ปุ่น มูลค่า 600 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ • ก่อสร้างแล้วสร้างปี 2018 • เน้นดาวเทียมตรวจสภาพอากาศสองดวง • ดาวเทียมดวงแรก สร้างโดยวิศวกรญี่ปุ่น กำหนดส่งขึ้นปี 2017 • ดาวเทียมดวงที่สอง สร้างโดยวิศวกรเวียดนามที่อบรมในญี่ปุ่น

  10. ประเทศไทยอยู่ตรงไหน? • พัฒนาอุตสาหกรรมตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 1(2504) • อุตสาหกรรมทดแทนการนำเข้า ส่งออกสินค้าเกษตรและสินแร่ไปแลกกับการนำเข้าเครื่องจักรและวัตถุดิบขั้นกลาง • ผลิตสินค้าสนองภายในประเทศ เป็นอุตสาหกรรมแรงงานเข้มข้น • ตั้งกำแพงภาษี กีดกันการแข่งขัน ให้สิทธิพิเศษผ่านการส่งเสริมการลงทุน (BOI) • ร่วมทุนไทย-ต่างชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ญี่ปุ่น • รัฐวิสาหกิจในสาธารณูปโภคและในอุตสาหกรรม “ยุทธศาสตร์” (เช่น ขนส่ง เครื่องหนัง แบตเตอรี่ ยารักษาโรค)

  11. ระบบสถาบันการเงินไทยแบบปิด ในการควบคุมของธนาคารแห่งประเทศไทย ปลอดพ้นจากการแข่งขัน • วิกฤตราคาน้ำมัน 2515-2522 และความไม่สงบทางการเมือง (14 ตุลา 2516 และ 6 ตุลา 2519) • หลัง 2520 พัฒนาอุตสาหกรรมหนักและพลังงาน ใช้ทุนเข้มข้น • แหล่งก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทย อุตสาหกรรมพลังงานและปิโตรเคมี • อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า รถยนต์ เคมี เครื่องจักรเกษตร • อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ยังคงรวมศูนย์และได้รับการคุ้มครองสูง

  12. ปลายยุค 2520 ส่งเสริมอุตสาหกรรมส่งออก เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนยานยนต์ อาหารแปรรูป • เน้นร่วมลงทุนกับญี่ปุ่น ใช้เป็นฐานการผลิตเพื่อส่งออกไปยุโรปและสหรัฐอเมริกา • หลัง 2530 มีการย้ายฐานการผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ไอที คอมพิวเตอร์จากญี่ปุ่น เกาหลี และใต้หวัน มาประเทศไทย • 2531-2534 เศรษฐกิจขยายตัวในอัตราสูง

  13. โครงสร้างเศรษฐกิจไทยนับแต่ 2523 • เกษตรกรรมลดสัดส่วนในจีดีพีลงจาก 25% เป็น 11% • อุตสาหกรรมเพิ่มสัดส่วนจาก 21% เป็น 30% • สาขาเศรษฐกิจสมัยใหม่ (อุตสาหกรรม ก่อสร้าง ขนส่งและคมนาคม บริการทางการเงิน ค้าส่งค้าปลีก) 67% • ยังเป็นแรงงานเข้มข้นและทักษะเข้มข้น เช่น สิ่งทอเสื้อผ้า อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ไฟฟ้า อัญมณี • เทคโนโลยีสูงเติบโตเร็ว (เครื่องจักร เคมี ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์)

  14. โครงสร้างการค้าต่างประเทศนับแต่ 2538 • ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม 80% • มุ่งไปทางเทคโนโลยีเข้มข้นมากขึ้น (เครื่องจักร อิเล็กทรอนิกส์ เคมี อุปกรณ์ไฟฟ้า ชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์) • สินค้านำเข้า เป็นสินค้าทุน สินค้าขั้นกลางและวัตถุดิบอุตสาหกรรม 81% • นำเข้าสินค้าเทคโนโลยี เครื่องจักร

  15. วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 • มาตรการ BIBFไม่ใช่การเปิดเสรีทางการเงิน แต่เป็นการเปิดเสรีการกู้เงินจากต่างประเทศผ่านธนาคารพาณิชย์ไทยที่ผูกขาด • ไม่มีการกำกับดูแล ตรวจสอบ ไม่มีการประเมินโครงการ • ภาคธุรกิจไทยที่ได้รับการคุ้มครองมานาน ไม่แข่งขัน ใช้ประโยชน์จากเงินกู้ราคาถูกมาลงทุนในโครงการที่ไม่คุ้มค่า • เงินทุนล้นเกินไหลจากอุตสาหกรรมไปตลาดหลักทรัพย์และที่ดิน • กลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ส่วนมากประสบความเสียหายอย่างหนัก

  16. บทเรียนจากวิกฤตเศรษฐกิจ 2540 • ความอ่อนแอทางโครงสร้างเศรษฐกิจกับความผิดพลาดทางนโยบายของธนาคารแห่งประเทศไทย • การแสวงหาประโยชน์จากโลกาภิวัฒน์ต้องมีการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจและปรับเปลี่ยนบทบาทของรัฐ • เสริมความเข้มแข็งของระบบตลาดแข่งขัน ปรับตัวให้รับมือกับความผันผวนในสากลได้ • รัฐบาลและธนาคารแห่งประเทศไทยลดการแทรกแซง --- จากการควบคุมโดยตรง เป็น “ผู้คุ้มกฎ”

  17. ปัญหาโครงสร้างเศรษฐกิจไทยปัญหาโครงสร้างเศรษฐกิจไทย • โครงสร้างพื้นฐานกายภาพล้าสมัยและประสิทธิภาพต่ำ • ระบบการขนส่งพึ่งพาถนนและน้ำมันเชื้อเพลิงเป็นหลัก • ต้นทุนสูงต่อน้ำหนักบรรทุก • การขนส่งระบบรางล้าสมัย ไม่มีประสิทธิภาพไม่มีการเปลี่ยนแปลงนัยสำคัญ • การขนส่งทางน้ำในประเทศถูกละเลย ไม่พัฒนา • ไม่มีความเชื่อมโยงทั้งระบบทางบก น้ำ และอากาศ

  18. ปัญหาขาดแคลนแหล่งพลังงานปัญหาขาดแคลนแหล่งพลังงาน • พึ่งพาการนำเข้าน้ำมันดิบ 80% • ก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยไม่พอใช้ ต้องนำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน (พม่า มาเลเซีย) • เขื่อนผลิตไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์ กับสิ่งแวดล้อม? • พลังงานไฟฟ้ามีราคาสูง ขาดแคลน ต้องนำเข้า (ลาว) • แนวโน้มต้องเป็นผู้นำเข้าพลังงานจากประเทศโดยรอบ • ต้นทุนค่าขนส่งและโทรคมนาคมสูง เครือข่ายไม่ทั่วถึง

  19. อัตราค่าจ้างแรงงานสูงกว่าประเทศในระดับเดียวกันอัตราค่าจ้างแรงงานสูงกว่าประเทศในระดับเดียวกัน • ปัญหาขาดแคลนแรงงานในเกษตรและอุตสาหกรรม • ทักษะทางภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมและวิทยาศาสตร์ • ขาดแคลนการวิจัยและพัฒนา ไม่มีฐานเทคโนโลยีของตัวเอง • ตลาดการค้าและการลงทุนมีแนวโน้มไหลไปสู่ประเทศคู่แข่ง • ระดับความสามารถในการแข่งขันของไทยลดต่ำลงเรื่อย ๆตั้งแต่ปี 2549 (World Economic Forum)

  20. Global Competitive Report

  21. มาตรการปฏิรูปเศรษฐกิจมาตรการปฏิรูปเศรษฐกิจ • ยกระดับระบบเศรษฐกิจไปสู่การผลิตมูลค่าสูงขึ้น • แรงงานเข้มข้น(labor intensive) • ทักษะเข้มข้น (skill intensive) • ทุนเข้มข้น (capital intensive) • เทคโนโลยีเข้มข้น (technology intensive) • ความรู้เข้มข้น (knowledge intensive) --- ทรัพย์สินทางปัญญา เป็นเรื่องสำคัญ

  22. อุตสาหกรรมแรงงานเข้มข้นและทักษะเข้มข้นมีความเสี่ยงอุตสาหกรรมแรงงานเข้มข้นและทักษะเข้มข้นมีความเสี่ยง • ค่าจ้างสูง การศึกษาและทักษะของแรงงานไม่ยกระดับ • ยกระดับโครงสร้างพื้นฐานขนส่งและโทรคมนาคม • ระบบรางคู่ รถไฟความเร็วสูง สนามบิน ท่าเรือน้ำลึก อินเตอร์เน็ต • การเปิดเสรีการค้า การลงทุน และทางการเงินอย่างเป็นขั้นตอน • ลดอัตราภาษีนำเข้า เพิ่มมาตรการกำกับที่มิใช่ภาษี • การปฏิบัติต่อนักลงทุนต่างชาติเยี่ยงคนชาติ • ขยายบทบาทสถาบันการเงินต่างชาติ • ลดการผูกขาด เพิ่มการแข่งขันภายในประเทศ

  23. การแปรรูปรัฐวิสาหกิจอย่างโปร่งใสและมีขั้นตอนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจอย่างโปร่งใสและมีขั้นตอน • สาขาที่ผลิตสินค้าเอกชนและขาดทุน ควรยกเลิก • สาธารณูปโภค แปรรูปการให้บริการ แยกจากโครงข่ายของรัฐ • มีมาตรการสนับสนุนช่วยเหลือผู้ที่ถูกผลกระทบ • นักธุรกิจ เกษตรกร ลูกจ้างเอกชน และรัฐวิสาหกิจ • วินัยทางการคลังและหนี้สาธารณะในระดับต่ำ • เน้นสาธารณสุข การศึกษา และสวัสดิการสังคมให้เพียงพอ • ปฏิรูประบบภาษีให้ง่าย โปร่งใส เป็นธรรม รวมภาษีทรัพย์สิน

  24. ยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่เทคโนโลยีเข้มข้นและความรู้เข้มข้นยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่เทคโนโลยีเข้มข้นและความรู้เข้มข้น • ให้มีความสามารถในการแข่งขันด้วยเทคโนโลยีของไทยและต่อยอดของต่างประเทศ • แรงงานเน้นการฝึกอบรมและวิศวกรรม • เพิ่มการใช้จ่ายสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาภาครัฐ • สิทธิประโยชน์แก่การวิจัยและพัฒนาภาคเอกชน • ทรัพย์สินทางปัญญาต้องเป็นวาระแห่งชาติ • กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาต้องแก้ไขให้ทันสมัย • การบังคับใช้ทรัพย์สินทางปัญญาอย่างจริงจัง

More Related