1 / 29

ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่

ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่. Gagne ได้ให้นิยามของการเรียนรู้ไว้ว่า เป็นการเปลี่ยนแปลงสมรรถภาพ ( Capability) หรือความสามารถ ของมนุษย์ ซึ่งสามารถสังเกตได้จากพฤติกรรมบางประการที่ แสดงออกมา การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้นจากการที่มนุษย์ ได้รับประสบการณ์จากสภาพการเรียนรู้ในระยะเวลาหนึ่ง .

jorn
Download Presentation

ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่

  2. Gagne ได้ให้นิยามของการเรียนรู้ไว้ว่า เป็นการเปลี่ยนแปลงสมรรถภาพ (Capability) หรือความสามารถ ของมนุษย์ ซึ่งสามารถสังเกตได้จากพฤติกรรมบางประการที่ แสดงออกมา การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้นจากการที่มนุษย์ ได้รับประสบการณ์จากสภาพการเรียนรู้ในระยะเวลาหนึ่ง

  3. กาเย่ ได้แบ่งประเภทการเรียนรู้พื้นฐานออกเป็น 8 ลักษณะ • เรียงตามลำดับก่อนหลังได้ดังนี้ • การเรียนรู้สัญญาณ (Signal Learning) • การเรียนรู้จากสิ่งเร้ากับการตอบสนอง(Stimulus –Response Learning) • การเรียนรู้เชื่อมโยง (Simple Chaining Learning) • การเรียนรู้ด้วยภาษา (Verbal Association Learning ) • การเรียนรู้ความแตกต่าง (DiscriminationLearning) • การเรียนรู้มโนทัศน์ ( ConceptLearning) • การเรียนรู้กฎ (Rule Learning) • การเรียนรู้การแก้ปัญหา (Problem –solving Learning )

  4. การเรียนรู้สัญญาณ (Signal Learning) • เป็นการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานที่สุด • เกิดขึ้นโดยผู้เรียนมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เป็น • เงื่อนไขอย่างทันทีทันใด • และเกิดการเรียนรู้เมื่อกระทำซ้ำหลาย ๆ ครั้งบนเงื่อนไข • เดียวกัน

  5. การเรียนรู้จากสิ่งเร้ากับการตอบสนอง(Stimulus –Response Learning) • เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างตั้งใจหรือจำเพาะเจาะจงโดยกระทำซ้ำบ่อย ๆ • ตอบสนองให้ถูกต้องเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ • การควบคุมสิ่งเร้าจะเพิ่มความถูกต้องของการตอบสนองได้มากขึ้น • การเสริมแรงหรือการให้รางวัลมีความจำเป็น

  6. การเรียนรู้เชื่อมโยง (Simple Chaining Learning) เป็นการเรียนที่จะต้องมีการกระทำเชื่อมโยงต่อเนื่อง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองตั้งแต่สองคู่ขึ้นไป โดยมากเป็นการเรียนรู้ด้านทักษะ (Motor Learning)

  7. การเรียนรู้ด้วยภาษา (Verbal Association Learning ) • การเรียนจะเกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ของการใช้ถ้อยคำหรือภาษาตอบสนองต่อสิ่งเร้า จนเกิดเป็นภาษาขึ้นมาเรียกสิ่งต่างๆ • การเรียนประเภทนี้ เป็นลักษณะเดียวกับการเรียนรู้แบบเชื่อมโยง (Connection Learning) ของเอบบิงฮอส (Ebbinghaus)

  8. การเรียนรู้ความแตกต่าง (Discrimination Learning) • เป็นการเรียนรู้ที่ต้องมีความเข้าใจอย่างกว้างขวางลึกซึ้งตามลำดับขั้นต่าง ๆ ที่จะเรียนรู้ จนสามารถจำแนกความแตกต่างที่มีอยู่ของสิ่งเร้าทั้งหลายได้เช่น สามารถแยกชื่อต่าง ๆ ของพืชและสัตว์ได้และเรียกได้อย่างถูกต้อง

  9. การเรียนรู้มโนทัศน์ ( Concept Learning) • โดยทั่วไปมโนทัศน์จะมีอยู่สองลักษณะคือ • มโนทัศน์แบบรูปธรรมม ซึ่งเกิดขึ้นจากการสังเกตและร่วมกิจกรรม จากสภาพการณ์ที่จัดให้เป็นแบบรูปธรรม • มโนทัศน์แบบนามธรรม เป็นมโนทัศน์ที่เกี่ยวกับสัญลักษณ์ หรือสิ่งแทนของจริงต่าง ๆ เช่น สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม ความร้อน เป็นต้น ดังนั้น การเรียนรู้มโนทัศน์ จึงเกิดขึ้นได้ตามจุดมุ่งหมายที่เราตั้งไว้ โดยเรียนรู้ผ่านทางสภาพการณ์การเรียนรู้เพื่อให้เกิดการตอบสนอง จนสามารถสรุปหลักการและจุดมุ่งหมายจากสิ่งแวดล้อมได้

  10. การเรียนรู้กฎ (Rule Learning) เป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากการนำเอามโนทัศน์จำนวนเหนึ่งมาสัมพันธ์กันอย่างมีลำดับต่อเนื่องและชัดเจน แล้วสร้างเป็นข้อสรุปหรือกฎที่มีความหมายใหม่ขึ้นมา และสามารถนำไปใช้อธิบายกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้

  11. การเรียนรู้การแก้ปัญหา (Problem –solving Learning ) เป็นการเรียนรู้ขั้นสูงที่สุดที่เกิดจากการนำหลักหรือกฎเบื้องต้นต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นมา จากหลักการก็จำนำไปสู่กระบวนการคิดใหม่ ๆ เกิดการคิดและขยายแนวคิด จนสามารถนำหลักการไปใช้อย่างสร้างสรรค์ และสามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ จนกระทั่งได้ความรู้ใหม่เพิ่มขึ้น

  12. จากลักษณะการเรียนรู้ดังกล่าว กาเย่ได้กล่าวว่า ผู้เรียนจะเกิดความสามารถ ซึ่งเป็นผลของการเรียนรู้ (Learning Outcomes) และผลของการเรียนรู้นี้ ถ้ามองในมุมหนึ่งก็คือ “จุดมุ่งหมายของการศึกษาและการ เรียนการสอน” นั่นเอง

  13. ทฤษฎีการเรียนรู้ของกาแย่กับเทคโนโลยีการศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ของกาแย่กับเทคโนโลยีการศึกษา จากทฤษฎีการเรียนรู้ของกาเย่ ดังได้อธิบายสรุปมาแล้วนั้น จะเห็นว่าเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยที่ประยุกต์ทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆเข้ามาสู่เหตุการณ์การเรียนการสอน (Instructional Event) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนาระบบการสอน ซึ่งก็คือเทคโนโลยีการสอนนั่นเอง

  14. กาเย่ ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลจะมีประสิทธิภาพเพียงใดนั้น จะขึ้นอยู่กับปัจจัย 2 ประการคือ 1. สภาพการเรียนรู้ (Conditions of Learning ) เป็นความพร้อมภายในตัวผู้เรียน ( Internal Conditions) ด้านความสามารถที่มีอยู่ก่อนเรียน (พฤติกรรมเบื้องต้น) และสภาพภายนอก (External Conditions) ที่จัดให้แก่ผู้เรียน

  15. เหตุการณ์ในการเรียนรู้ (Event of Learning ) • หมายถึง กระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ กาเย่ได้เสนอรูปแบบของกระบวนการเรียนรู้และการจำ (A basic Model of Learning and memory) ซึ่งเป็นรูปแบบที่ตั้งอยู่บนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มความรู้ความเข้าใจยุคใหม่ [Modern Cognitive ( Information processing) Theories ]

  16. การควบคุม (Exccutive Control) ความคาดหวัง (Expcclancies) หน่วยแสดง (Effector) ความจำระยะยาว (Long-Term Momory) การควบคุมการตอบสนอง (Response Generator) สภาพ แวดล้อม (Environ- Ment) หน่วยรับ (Receptor) การบันทึกความรู้สึก (Sensory Register) ความจำระยะสั้น (Shot-Term Memory) รูปแบบกระบวนการเรียนรู้และการจำของกาเย่

  17. จากภาพ • เมื่อมีสิ่งเร้าจากสภาพแวดล้อมมากระตุ้นหน่วยรับ • ประสาทสัมผัสจะรับสิ่งเร้าส่งไปทำการบันทึกความรู้สึก • และจะได้รับการกลั่นกรองจากกระบวนความตั้งใจและการเลือกการรับรู้ เลือกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการ • แล้วส่งต่อหน่วยความจำระยะสั้น โดยอาศัยสื่อ (ภาพและหรือเสียง) และบางส่วนถูกส่งไปยังหน่วยความจำระยะยาวและเรียกมางานได้ด้วยกระบวนการเสาะหา และการระลึก ผลจากกระบวนการนี้ทำให้มีการปฏิบัติโดยอาศัยหน่วยแสดง เป็นการตอบสนอง เมื่อได้ทราบผลการปฏิบัติก็จะเกิดการเรียนรู้ การทราบผลการปฏิบัติเป็นกระบวนการข้อมูลย้อนกลับ ส่วนการควบคุมประสิทธิภาพการเรียนรู้นั้น จะขึ้นอยู่กับกระบวนการควบคุมและการคาดหวัง กระบวนการควบคุมที่สำคัญคือ ยุทธศาสตร์การคิด

  18. ลำดับขั้นของกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องกัน เป็น 8 ลำดับขั้น คือ 1. ความตั้งใจ (Attention) เป็นลักษณะและธรรมชาติของมนุษย์ในการรับรู้ สิ่งเร้า 2. การรับรู้ (Selective Perception) เป็นการเลือกรับรู้ความรู้ต่าง ๆ เพื่อนำไปเก็บ ในหน่วยความจำระยะสั้น 3. จัดข้อมูลความรู้ (Rehearsal) ในหน่วยความจำระยะสั้น 4. จัดรหัสความรู้ (Semantic Encoding) เพื่อนำไปเก็บในหน่วยความจำระยะยาว 5. นำออกมาใช้ (Retrieval) รวมทั้งการเสาะหา การนำความรู้เก็บไว้ในความจำ การทำงานหรือหน่วยการตอบสนอง

  19. 6. การตอบสนอง (Response Organization) เป็นการเลือกและการ จัดการปฏิบัติ 7. การป้อนกลับ ( Feedback) เป็นเหตุการณ์ภายนอกในลักษณะของ การเสริมแรง 8. การควบคุมประบวนการเรียนรู้ (Executive Control Processes) เป็น การใช้ยุทธศาสตร์การคิดและอื่น ๆ เป็นกระบวนการภายในตัว ผู้เรียนที่จะ ควบคุมกระบวนการเรียนรู้

  20. ผลที่เกิดจากการเรียนรูผลที่เกิดจากการเรียนรู การเรียนรูในทัศนะของ Gagne ครอบคลุมไปถึงผลที่เกิดขึ้นจากประสบการณที่ไดรับจาก การเรียนรู (outcomes of learning experiences) การศึกษาทัศนะของ Gagne เกี่ยวกับ ผลสัมฤทธิ์ที่จะ เกิดขึ้นจากการเรียนรูจะเปนขอมูลในการจัดประสบการณการเรียนรูใหแก ผู้เรียน Gagne ไดแบงแยกรูปแบบของความสามารถที่เปนผลมาจากการเรียนรูหรือผลิตผลที่ได จากการเรียนรู (end products) ออกเปน 5 ประการ คือ 1. สารสนเทศที่เปนคําพูด (verbal information) 2. ทักษะทางสติปญญา (intellectual skills) 3. เจตคติ (attitudes) 4. ทักษะการเคลื่อนไหว (motor skills) 5. กลยุทธในการจัดการขอมูล (cognitive strategies)

  21. ผลการเรียนรูดานการรับรูสารสนเทศ (verbal information) ผลการเรียนรูดานการรับรูสารสนเทศ เปนความสามารถของผูเรียนในการจะเรียนรูวา ขอมูลนั้น คืออะไร สารสนเทศในที่นี้ไดแก เนื้อหาในแตละบทเรียน ขอเท็จจริง วันที่ ชื่อ ลักษณะรูปพรรณสัณฐาน ของสิ่งตางๆ ความสามารถในการรับรูสารสนเทศเหลานี้ อาจอยูใน รูปของสารสนเทศที่ไดจากการอาน หรือสารสน เทศที่ไดจากการบอกกลาว ซึ่งลวนเปน วิธีการที่ทําใหเกิดการเรียนรูได

  22. ผลการเรียนรูดานทักษะสติปญญา (intellectual skills) ผลการเรียนรูดานทักษะสติปญญา เปนความสามารถในการเรียนรูวาจะกระทําอยางไร กับ สารสนเทศที่รูนั้น เปนการประยุกตจากอะไรเปนอยางไร เปนการเรียนรูที่เกิดจากการใช สัญลักษณ การสื่อ ความหมาย และการคํานวณ เพื่อแกปญหา การทําใหผูเรียนไดมี ปฏิสัมพันธกับสภาพแวดลอมทางออม โดยใหปฏิบัติตามที่ผูเรียนคิด 1. ขั้นการรูลักษณะแตกตาง (discrimination) เปนขั้นที่สามารถบอกความแตกตางระหวาง สัญลักษณตาง ๆ 2. ขั้นการเกิดความคิดรวบยอด (concepts forming) เปนความสามารถในการเรียนรูความคิดรวบยอด 3. ขั้นการเรียนรูกฏ (rules learning) เปนขั้นที่นําความคิดรวบยอดตาง ๆ มาสัมพันธกันเกิด เปนกฏและสามารถใชกฎนั้นเพื่อหาคําตอบได

  23. ผลการเรียนรูดานเจตคติ (attitudes) เปนภาวะภายในของสิ่งมีชีวิตที่มีอิทธิพลตอการกระทําและการคิดที่มีรูปแบเฉพาะตอคน สัตว สิ่งของ และเหตุการณ การที่คนเราไดรับประสบการณทั้งทางดานบวกและลบทําใหเกิดการเรียนรูได เชน การปฏิบัติงานแลวเปนที่ยอมรับของเพื่อน ก็จะทําใหมีเจตคติที่ดีตอการปฏิบัติงานนั้นตอไป ผลการเรียนรู ที่ทําใหเกิดเจตคติทางบวกยอมทําใหเกิดความเต็มใจในการเรียนรูสิ่งนั้น

  24. ผลการเรียนรูดานทักษะการเคลื่อนไหว (motor skills) เปนความสามารถที่คนเราใชในกิจกรรมตาง ๆ ทักษะในการ เคลื่อนไหวมีองคประกอบ 2 ประการดวยกันประการแรก คือ กฏ ที่จะบอกใหทราบวาจะทําอยางไร หรือจะเคลื่อนไหวอยางไร ประการที่สองคือ การเคลื่อนไหวของกลามเนื้อซึ่งจะคลองแคลวถูกตอง มากขึ้นจากการฝกปฏิบัติ

  25. ผลการเรียนรูดานกลยุทธในการจัดการสารสนเทศ (cognitive strategies) กลยุทธในการจัดการสารสนเทศ เปนทักษะทางสติปญญาแบบพิเศษ เปนความสามารถที่ ผูเรียน จัดการภายในโครงสรางความรูความคิดโดยใชกระบวนการที่เกี่ยวของกับขอมูล ความ ตั้งใจ การเรียนรู การจํา และการคิด รูปแบบการเรียนรูเหลานี้จะตองมีทักษะเกี่ยวกับ กระบวนการของขอมูลเขามา เกี่ยวของ พฤติกรรมในกิจวัตรประจําวันตาง ๆ เหลานี้ ไดแก ความตั้งใจ การจํา ความเขาใจ และ การแก ปญหา เคยเปนหัวขอที่นักจิตวิทยานํามาศึกษา เพื่อมุงหวังที่จะใหเกิดความ เขาใจอยาง ลึกซึ้งถึงการรับขอมูลเพื่อจํา เพื่อแกปญหา และเพื่อประยุกตความรูที่ไดนี้มา ปรับปรุงการศึกษาเพื่อชวย ซอมเสริมการคิดที่ไมสมบูรณ

  26. ลําดับขั้นการสอน Gagne และ Briggs (1974) ไดเสนอแนวความคิดของลําดับขั้นการสอนไว 9 ขั้น ดังนี้ 1. ขั้นดึงความสนใจ (gaining attention) เพื่อเราใหผูเรียนเกิดความตั้งใจในการเรียน 2. ขั้นใหผูเรียนทราบจุดประสงค (informing the learner of the objective) เพื่อให ผูเรียน ไดทราบวา ผูเรียนจะเรียนรูอะไร ชวยใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมีความหมาย 3. ขั้นกระตุนการเรียนรูที่มีอยูเดิม (stimulating recall of prerequisite learning) เพื่อกระตุนให ผูเรียนนําความรูที่มีอยูเดิมมาสัมพันธกับความรูใหม 4. ขั้นใหสื่อสิ่งเรา (presenting the stimulus material) สิ่งเราที่แสดงหรือสื่อใหแก ผูเรียนเปน สิ่งเราและสื่อที่เกี่ยวของกับการกระทํา (performance) ซึ่งสะทอนใหเห็นสิ่งที่ ผูเรียนจะเรียนรู

  27. 5. ขั้นใหแนวทางสูการเรียนรู (providing “learning guidance”) ผูสอนอาจใชคําถามชวย ชี้นําใหผูเรียน เพื่อใหผูเรียนไดกฎเกณฑและเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ 6. ขั้นใหแสดงออก (eliciting the performance) ผู้สอนอาจใหผูเรียนแสดงหรือทําใหดูเพื่อ ให ผูเรียนไดแสดงความสามารถเมื่อไดรับแนวทางหรือการบอกแลว 7. ขั้นใหขอมูลปอนกลับ (providing feeding) เปนขั้นที่ชวยใหผูเรียนไดทราบถึงผลที่ ตนปฏิบัติ หรือแสดงวาไดผลดีเพียงใด 8. ขั้นประเมินผล (assessing the performance) เปนขั้นของการตรวจสอบผลการ เรียนรูของ ผูเรียนแตละคนวามีความตั้งใจในการเรียนและมีความรูความคิดถูกตองมากนอยเพียงใด 9. ขั้นสงเสริมความคงทนและการถายโยง (enhancing retention and transfer) เปนขั้นของ การใหผูเรียนได นําความรูที่ไดนั้นไปเชื่อมโยงสัมพันธกับขอมูลใหม เพื่อเสริมความจําหรือทําใหเกิดความ รูใหม เชนให ทําแบบฝกหัด หรือทบทวน

  28. Gagne’s Model

  29. จัดทำโดย สุนันทรัตน์ โพธิ์ศรี รอยพิมพ์ จันทรโชติ โกศล เลิศล้ำ ดวงพร บุญเจริญ กรุณา สุชิน

More Related