220 likes | 501 Views
ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณสำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า. กุมารี พัชนี ภูษิต ประคองสาย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ ( IHPP ) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 22 ธันวาคม 2553.
E N D
ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณสำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณสำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กุมารี พัชนี ภูษิต ประคองสาย สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ(IHPP) สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 22 ธันวาคม 2553
ความเป็นมา การผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็ก - ค่าใช้จ่ายสูง - ไม่สามารถเข้าถึงการบริการ - หากผู้ป่วยเด็กไม่ได้รับการผ่าตัดปลูก ถ่ายตับจะป่วยด้วยโรคตับแข็ง และเสียชีวิตใน ท้ายที่สุด สปสช. ได้รับการร้องขอ จากประชาชน การศึกษา ความต้องการงบประมาณ สำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
วัตถุประสงค์ ประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และค่าใช้จ่ายเฉลี่ยสำหรับ ผู้ป่วยแต่ละราย ประมาณการความต้องการงบประมาณในการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กเข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า - ความเป็นไปได้ของภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นในอนาคต วิธีการศึกษา • ทบทวนวรรณกรรม • สัมภาษณ์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ • แบบจำลองความต้องการงบประมาณ
อุบัติการณ์และการรักษาอุบัติการณ์และการรักษา • โรคท่อนำดีตีบตันแต่กำเนิด (Biliary atresia) อุบัติการณ์ 1 ใน 15,000 ของทารกคลอดมีชีวิต หรือประมาณ 60-80 รายต่อปี การรักษา • Kasai’s operation คือ การผ่าตัดลำไส้เข้ากับท่อน้ำดีเล็กที่ขั้วตับ • การผ่าตัดปลูกถ่ายตับ (Liver Transplantation) เป็นการรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคตับแข็ง ที่เกิดจากท่อน้ำดีตีบตัน ตับที่นำมาปลูกถ่าย ได้มาจาก 2 แหล่ง คือ - ตับของผู้ป่วยภาวะสมองตาย - ผู้บริจาคที่มีชีวิต
จำนวนผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ (2537-2553) ปัญหาที่สำคัญ • การขาดแคลนอวัยวะ • ค่าใช้จ่ายสูง • ทำการผ่าตัดปลูกถ่ายตับได้ประมาณปีละ 40 ราย
อัตราการรอดชีวิตหลังการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็ก จากแหล่งข้อมูล 7 แหล่ง 6
หลังการรักษา ก่อนการรักษา 7
ข้อมูล Profile เด็กที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ • โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ • โรงพยาบาลรามาธิบดี • โรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหม่ (** ข้อมูลตามเอกสาร**)
ค่าใช้จ่ายต่อปีและค่าใช้จ่ายสะสมของการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กค่าใช้จ่ายต่อปีและค่าใช้จ่ายสะสมของการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็ก จากคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ค่าผ่าตัดตับจากผู้บริจาคที่มีชีวิต 150,000 บาท ค่าใช้จ่ายเพื่อเตรียมก่อนการผ่าตัด 50,000 บาท ค่าใช้จ่ายสำหรับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ 800,000 บาท
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ภายหลังจากการผ่าตัดปลูกถ่ายตับการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ภายหลังจากการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ
Model 1 :มีเด็กที่ต้องการปลูกถ่ายตับประมาณ 60 ราย ต่อ ปี, ปีที่ 1 มีอัตรารอดชีวิตร้อยละ 90, ปีที่ 5 ร้อยละ 85, และปีที่ 10 ร้อยละ 80 * และเด็กมีชีวิตรอดจนถึงอายุ 70 ปี 13
Model 2 :มีเด็กที่ต้องการปลูกถ่ายตับประมาณ 40 ราย ต่อ ปี, ปีที่ 1 มีอัตรารอดชีวิตร้อยละ 90, ปีที่ 5 ร้อยละ 85, และปีที่ 10 ร้อยละ 80 * และเด็กมีชีวิตรอดจนถึงอายุ 70 ปี 14
Model 3 :มีเด็กที่ต้องการปลูกถ่ายตับประมาณ 40 ราย ต่อ ปี, ปีที่ 1 มีอัตรารอดชีวิตร้อยละ 85, ปีที่ 5 ร้อยละ 82, และปีที่ 10 ร้อยละ 82 * และเด็กมีชีวิตรอดจนถึงอายุ 70 ปี 15
Model 1 Model 2 Model 3 16
อภิปรายผล • การพิจารณาความคุ้มค่า เมื่อเทียบกับจำนวน GDP และจำนวนประชากรทั้งหมด ในปี 2552 พบว่า • GDP 2009 = 9,041,551 ล้านบาท • จำนวนประชากรปี 2009 = 66,903,000 คน • GDP per capita =135,144.18 บาท *(NESDB) (ICER per QALY = 273,465 Baht) • ถ้าพิจารณาเปรียบเทียบกับงบประมาณที่กองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้รับในปี 2552 , 2553 และ 2554 • งบประมาณปี 2552 = 108,064.99 ล้านบาท • งบประมาณปี 2553 = 117,968.83 ล้านบาท • งบประมาณปี 2554 = 129,280.89 ล้านบาท (40ล้าน / 108,064.99 ล้าน)*100 = 0.04 คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.04 ของงบประมาณที่ได้รับในแต่ละปี
ข้อจำกัดการศึกษา • มีความจำกัดของข้อมูลด้านตัวเลข เช่น อัตราอุบัติการณ์ และความชุก • ข้อมูลเรื่อง ผลข้างเคียง และ ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ ที่มีข้อมูลค่อนข้างน้อย • ค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดปลูกถ่ายตับและค่าใช้จ่ายจากภาวะแทรกซ้อนหลังการรักษา • ขาดข้อมูลเรื่อง quality of life ภายหลังการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ
บทสรุป • ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ เมื่อเทียบกับค่า ICER พบว่า ต้นทุนระหว่าง 1-3 เท่าของ GDP per Capita per QALY มีประสิทธิผลต้นทุน • อัตราการรอดชีวิตที่แตกต่างกันในแต่ละ Model พบว่าทำให้เกิดภาระด้านงบประมาณไม่แตกต่างกันมากนัก • ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายและการดูแลผู้ป่วยในระยะยาว คือ การเข้าถึงบริการและจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในแต่ละปี และค่ายากดภูมิคุ้มกัน • สิ่งที่ควรคำนึง ถ้ารัฐบาลต้องการขยายการรักษาพยาบาลนี้เข้าสู่ชุดสิทธิประโยชน์ในระยะยาว • เพิ่มการบริจาคเนื้อเยื่อตับที่จะนำมาปลูกถ่ายให้กับเด็ก • จำนวนสถานพยาบาลที่ให้บริการ
คำถามจากคณะอนุกรรมการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์คำถามจากคณะอนุกรรมการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ • ผู้ป่วยรายเก่าที่ได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายตับแล้ว เป็นสิทธิใดบ้าง มีชีวิตอยู่กี่คน (อัตราการรอดชีวิตในช่วง 5-10 ปีที่ผ่านมา / คุณภาพชีวิตเป็นอย่างไร) • ระบบบริการ สามารถขยายศักยภาพในการให้บริการได้มากกว่า 40 รายต่อปีได้หรือไม่ • ความคิดเห็นของผู้ให้บริการและองค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้องต่อผลการศึกษานี้
คำถามจากผู้วิจัย • ค่าใช้จ่ายโดยรวมของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดปลูกถ่ายตับ? • คุณภาพชิวิตและการดำเนินชิวิตของผู้ป่วยหลังการผ่าตัดปลูกถ่ายตับมีค่าประมาณเท่าใด? • ปริมาณยากดภูมิคุ้มกันที่ผู้ป่วยได้รับจริง ซึ่งจะลดลงเมื่อผู้ป่วยมีการตอบสนองดีขึ้นในระยะยาว แต่ปริมาณยาจะเพิ่มขึ้นตามน้ำหนักตัวของผู้ป่วย • ความเป็นไปได้ของการปรับลดราคายากดภูมิคุ้มกัน หากมีการอนุมัติงบประมาณสนับสนุนการรักษา • เนื้อเยื่อตับบริจาคจากทั้ง 2 แหล่งกับจำนวนความต้องการของผู้ป่วย • การพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลผู้ป่วยเพื่อเก็บข้อมูลในระยะยาว
กิตติกรรมประกาศ • สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) • นพ. สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ ประธานคณะอนุกรรมการพัฒนาสิทธิประโยชน์และระบบบริการ สปสช. • โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่ • โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ • โรงพยาบาลรามาธิบดี Thank you..