250 likes | 406 Views
การค้าไทย-จีน : โอกาสและความท้าทาย. โดย นายชรินทร์ หาญสืบสาย 2 ธันวาคม 2548. ประเด็น. สภาพเศรษฐกิจจีน ความเชื่อมโยงระหว่างอาเซียน-จีน การค้าระหว่างไทย-จีน รูปแบบการลดภาษี โอกาสการขยายตลาด การปรับตัวรองรับ. สภาพเศรษฐกิจจีน. ประชากรมากที่สุดในโลก มากกว่า 1,300 ล้านคน
E N D
การค้าไทย-จีน : โอกาสและความท้าทาย โดย นายชรินทร์ หาญสืบสาย 2 ธันวาคม 2548
ประเด็น • สภาพเศรษฐกิจจีน • ความเชื่อมโยงระหว่างอาเซียน-จีน • การค้าระหว่างไทย-จีน • รูปแบบการลดภาษี • โอกาสการขยายตลาด • การปรับตัวรองรับ
สภาพเศรษฐกิจจีน • ประชากรมากที่สุดในโลก มากกว่า 1,300 ล้านคน • ขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 6 ของโลก (ใหญ่กว่าไทยเกือบ 10 เท่า) • มูลค่าการค้าระหว่างประเทศสูงอันดับ 3 ของโลก • ประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่ของโลก • ทุนสำรองเงินตราสูงอันดับ 2 ของโลก • แหล่งดึงดูดการลงทุนที่สำคัญของโลก • มีรายได้และการบริโภคเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูง
ความเชื่อมโยงระหว่างอาเซียน-จีนความเชื่อมโยงระหว่างอาเซียน-จีน • อาเซียน-จีน ประชากรรวมกันถึง 1,800 ล้านคน • GDP รวมกันกว่า 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ • การค้าระหว่างกันสูงถึง 105.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ • อาเซียนได้เปรียบดุลการค้ากับจีน
การค้าระหว่างประเทศไทย-จีนการค้าระหว่างประเทศไทย-จีน
โครงสร้างสินค้าออกของไทยไปจีน ปี 2547
รายการสินค้าสำคัญที่ไทยส่งออกไปจีน ปี 2546-2547 มูลค่า : พันบาท
รายการสินค้าสำคัญที่ไทยส่งออกไปจีน ปี 2548 (ม.ค.-ก.ย.) มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ หน่วย : ร้อยละ
โครงสร้างสินค้าเข้าของไทยจากจีน ปี 2547
รายการสินค้าสำคัญที่ไทยนำเข้าจากจีน ปี 2546-2547 มูลค่า : พันบาท
การเร่งลดภาษีสินค้าส่วนแรกการเร่งลดภาษีสินค้าส่วนแรก • ไทย-จีน ได้เร่งลดภาษีผักและผลไม้เป็นศูนย์ทันที ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2546 • อาเซียน-จีน ลดภาษีสินค้าพิกัดอัตราศุลกากรตอนที่ 01-08 และสินค้าเฉพาะบางรายการ (ถ่านหินแอนทราไซด์และถ่านหินโค๊ก) เริ่มทยอยลดภาษีระหว่างกันตั้งแต่ 1 มกราคม 2547 และลดเป็น 0% ในวันที่ 1 มกราคม 2549
รูปแบบการลด/เลิกภาษีของสินค้าปกติภายใต้ FTA อาเซียน-จีน
สินค้าลดภาษีปกติกลุ่มที่ 2 ลดภาษีเหลือ 0% ในปี 2555
รูปแบบการลด/เลิกภาษี สินค้าอ่อนไหวภายใต้ FTA อาเซียน-จีน
รายการสินค้าอ่อนไหวของไทยรายการสินค้าอ่อนไหวของไทย มีจำนวนทั้งหมด 342 รายการ
รายการสินค้าอ่อนไหวของจีนรายการสินค้าอ่อนไหวของจีน มีจำนวนทั้งหมด 261
แหล่งกำเนิดสินค้า สินค้าที่จะได้รับสิทธิประโยชน์จากการลดภาษี • ใช้วัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด (Wholly Obtained) หรือ • ใช้วัตถุดิบภายในประเทศ (นับรวมอาเซียนและจีน) ไม่ต่ำกว่า 40% หรือ • ใช้วัตถุดิบภายในประเทศน้อยกว่า 40% แต่เป็นสินค้าที่มีกฎการนำเข้าเฉพาะ (Product Specific Rules)
ผลประโยชน์ที่ไทยจะได้รับผลประโยชน์ที่ไทยจะได้รับ • อัตราภาษีนำเข้าของจีนลดลง เข้าสู่ตลาดจีนง่าย • ไทยจะได้ประโยชน์จากการนำเข้าวัตถุดิบและสินค้าทุนจากจีนในราคาที่ถูกลง • ผู้บริโภคเลือกซื้อสินค้าได้หลากหลาย ราคาถูก • มีการย้ายฐานการผลิตเข้าไทยเพิ่มขึ้น • ตลาดกว้างขึ้น • กระตุ้นการพัฒนาคุณภาพสินค้า
สินค้าที่คาดว่าไทยจะได้รับประโยชน์ • สินค้าที่จีนผลิตไม่ได้และมีความต้องการนำเข้า สินค้าวัตถุดิบ สินค้าที่เจาะตลาดคนรุ่นใหม่ และมีอำนาจซื้อสูง เช่น อัญมณีและเครื่องประดับ เครื่องตกแต่งบ้าน เฟอร์นิเจอร์ และสินค้าประดับยนต์ เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์พลาสติก ยางธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์ยาง อาหารสำเร็จรูป อุปกรณ์และเครื่องใช้ทางการแพทย์ เป็นต้น
สินค้าที่คาดว่าไทยจะได้รับประโยชน์ • สินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูป - ไก่สดแช่แข็ง มันสำปะหลังและผลิตภัณฑ์ - ผลไม้สดเมืองร้อน ยางธรรมชาติ น้ำตาล อาหารแปรรูป • สินค้าอุตสาหกรรม - ปิโตรเคมี เดกซ์ทริน และโมดิไฟด์สตาร์ช - พลาสติกและผลิตภัณฑ์ เม็ดพลาสติก - ด้ายใยยาวสังเคราะห์ อุปกรณ์ไฟฟ้าประเภทแผง - ทรานซิสเตอร์และอุปกรณ์กึ่งตัวนำ วงจรพิมพ์ - ผลิตภัณฑ์เชื้อเพลิง และอัญมณีและเครื่องประดับ ฯลฯ
การเตรียมความพร้อม • เชิงรุก ภาครัฐ หาตลาดเพิ่ม โดยกรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ มีทีมปฎิบัติการพิเศษเคลื่อนที่เร็ว หรือ Special Task Force เพื่อหาลู่ทางขยายตลาดและสร้างความสัมพันธ์กับผู้นำเข้าในประเทศคู่ค้าเป้าหมาย ภาคเอกชน เปิดตลาดร่วมกับภาครัฐ และศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคในตลาดนั้น ๆ รวมทั้งพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้น
การเตรียมความพร้อม • เชิงรับ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยการลด ต้นทุนการผลิต สร้างมาตรการให้ความช่วยเหลือภาคเอกชน เช่น กระทรวงเกษตรและกระทรวงอุตสาหกรรมจัดทำ มาตรฐานสินค้า ปรับปรุงระบบและลดขั้นตอนการให้บริการของภาครัฐ
ข้อมูลเพิ่มเติม www.thaifta.com FTA Unit โทร. 0 2507 7444 0 2507 7555 0 2507 7680 0 2507 7687