html5-img
1 / 47

กรณีศึกษาครั้งที่ 1

กรณีศึกษาครั้งที่ 1. นศภ.กชกร คำอินต๊ะ นสภ.พฒนพงศ์ ทรัพย์พิริยะอานันต์. Patient’s profile. ผู้ป่วยชายไทยคู่อายุ 46 ปี น้ำหนัก 50 กิโลกรัม.

Download Presentation

กรณีศึกษาครั้งที่ 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรณีศึกษาครั้งที่ 1 นศภ.กชกร คำอินต๊ะ นสภ.พฒนพงศ์ ทรัพย์พิริยะอานันต์

  2. Patient’s profile ผู้ป่วยชายไทยคู่อายุ 46 ปี น้ำหนัก 50 กิโลกรัม CC : วันที่ 3 เม.ย. 53 ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลด้วยอาการคัน มีผื่นแดงขึ้นเต็มตัวและใบหน้า ลักษณะเป็นปื้นสีแดง มีแผลในปาก ไม่มีอาการหน้าบวม ปากบวม หายใจได้สะดวก มีอาการเจ็บปากมาก HPI :1.เกิดผื่นแดง แพทย์วินิจฉัย เป็น Seborrhoeic dermatitis 22 เม.ย 53 2.ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยปัจจุบัน คือ Human Immunodeficiency virus

  3. Patient’s profile PMH :1.ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาตัวครั้งแรกที่โรงพยาบาลเชียงรายราชประชานุเคราะห์ เมื่อวันที่ 22 ม.ค.2551 ด้วยการมีก้อนบริเวณหลังมาเป็นเวลา 1 ปี โดยก้อนนั้นมีขนาดโตขึ้นเรื่อยๆ 2.HIV positive ได้รับการวินิจฉัยครั้งแรกเมื่อ 7 เม.ย 2553 3.ตัดไส้ติ่งอักเสบและได้รับการผ่าตัด 1 มค.2553 FH : - SH :ปฏิเสธการดื่มสุรา และสูบบุหรี่ ALL :ประวัติแพ้ยา Aspirin , Ibuprofen Angioedema PE : V/S : BP100/60 mmHg, Temp 39 ºC GA : Good conciousness

  4. Lab :

  5. SOAP NOTE

  6. Subjective data ผู้ป่วยชายไทยคู่ อายุ 48 ปี น้ำหนัก 50 กิโลกรัม มาโรงพยาบาลด้วยอาการคัน มีผื่นแดงขึ้นเต็มตัวและใบหน้า ลักษณะเป็นปื้นสีแดง มีแผลในปาก ไม่มีอาการหน้าบวม ปากบวม หายใจได้สะดวก แต่มีอาการเจ็บปากมาก Objective data ALL : Ibuprofen และ Aspirin (Angioedema) 4 ม.ค. 2553 PE V/S:BP100/60 mmHg, Temp 39 ºC GA: Good consciousness Lab:CD4 = 63 %CD4 = 5%

  7. Problemlist 1 : HIV infection with Drug Allergy DRP : Adverse drug reaction

  8. Subjective & Objective data • 02/04/53 : ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบว่า HIV positive และได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นๆ • 07/04/53 : CD4+ count =63 primary prophylaxis of OI • 21/04/53 : มีผื่นแดงลักษณะขุยสะเก็ดเป็นมัน Seborrhoeic dermatitis

  9. Subjective & Objective data • 22/04/53 : แพทย์สั่งเริ่มใช้ยา ARV • 23/04/53 : ผู้ป่วยเริ่มทาน ARV • 30/04/53 :ผื่นขึ้นเป็นปื้นแดงทั่วตัวและบริเวณใบหน้า คัน และขึ้นสองข้างของร่างกายเท่าๆกันMP rash + แผลในปาก • 02/05/53 : ผื่นมากขึ้นมาโรงพยาบาลได้รับยาฉีดและแก้แพ้ • 03/05/53 : ผู้ป่วยมาพบเภสัชกร

  10. Timeline

  11. Indication for therapy • MP rash ร่วมกับมีแผลในปาก • ประเมินหายาที่เป็นสาเหตุ • จัดการปรับเปลี่ยนการรักษาให้มีความเหมาะสม • ป้องกันการเกิดผื่นที่รุนแรงและเป็นอันตราย

  12. Assessment of therapy • แพ้ยาในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ HIV นั้นเป็นปฏิกิริยาการแพ้ของร่างกาย • ซึ่งพบบ่อยกว่าคนปกติถึง 10 เท่า • ได้รับยาครั้งแรก จะเกิดอาการในช่วง2-4 สัปดาห์หลังได้รับยา • เคยได้รับยาชนิดนั้นมาแล้ว สามารถเกิดได้ทันที • ผู้ป่วยรายนี้ไม่เคยได้รับ ARV และยาป้องกัน OI มาก่อน • ยาที่ผู้ป่วยใช้ในช่วง 4 สัปดาห์ก่อนเกิดผื่นในวันที่ 30/4/53 • Nevirapine ,Stavudine ,Lamivudine,Bactrim (cotrimoxazole+trimethoprim) Fluconazole

  13. Nevirapine • Lead-in Nevirapine • 7 วันก่อนเกิดผื่นแพ้ยา • การเกิดผื่นแพ้ยาจาก Nevirapineเกิดได้บ่อยในช่วง 6 สัปดาห์แรกของการรักษา • maculopapularerythematouscutaenous eruption • Naranjo’s algorithm คะแนนเท่ากับ 3 อยู่ในระดับ possible

  14. Stavudine • 7 วันก่อนเกิดผื่นแพ้ยา • Naranjo’s algorithm คะแนนเท่ากับ 3 อยู่ในระดับ possible • Incidence การเกิดผื่นน้อย • Peripheral neuropathy :5- 15% (max:24%),Hepatic enzyme rising • โอกาสในการเกิดผื่นแพ้ยาจาก stavudineน้อย

  15. Lamivudine • 7 วันก่อนเกิดผื่นแพ้ยา • Naranjo’s algorithm คะแนนเท่ากับ 3 อยู่ในระดับ possible • ผื่นแพ้ยาจาก lamivudineพบได้น้อยกว่า 1 % • อาการข้างเคียงน้อยมาก ผู้ป่วยทนต่อยาได้ดี • โอกาสในการเกิดผื่นแพ้ยาจาก stavudineน้อย

  16. Cotrimoxazole • ใช้ยามา 23 วันก่อนเกิดผื่นแพ้ยา • TMP +SMX • Primary prevention : Pneumocytis pneumonia และToxoplasmic encephalitis • ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV จะมีโอกาสแพ้ยา TMP-SMX ได้ถึง 44-83% • MP rash ไปจนถึง Steven Johnson’s syndrome (SJS) • การแพ้ที่เกิดขึ้นจะมีระยะเวลาอยู่ในช่วง 7 วันแรกของการได้รับยา

  17. Cotrimoxazole(cont.) • Risk factor : • ผู้ป่วยที่มีระดับ CD4+ T-cell count >200 cell/µL • CD4:CD8 ratio <0.10 • ใช้ยามาน้อยกว่า 14 วัน • เพศชาย • มีประวัติเป็นซิฟิลิสมาก่อน • มีปริมาณ total protein สูง • Naranjo’s algorithm คะแนนเท่ากับ 3 อยู่ในระดับ possible

  18. Fluconazole • เวลา 23 วันก่อนเกิดการแพ้ยา • ผู้ป่วย HIV infection จะพบการเกิดผื่นได้บ่อยมากกว่าคนปกติ • ผื่นแบบ Rash และ Exfoliative skin disorder • fluconazoleพบเป็น 10 : 10000 person-year • Naranjo’s algorithm คะแนนเท่ากับ 3 อยู่ในระดับ possible

  19. Management • ยาที่คาดว่าจะเป็นสาเหตุทั้งหมด นั่นคือ Nevirapine , TMP-SMX และ fluconazole • ผู้ป่วยรายนี้มีผื่นคันทั้งตัวร่วมกับมีแผลในปาก • อาจจะพัฒนาไปสู่ Steven – Johnson Syndrome (SJS) และ Toxic Epidermal Necrolysis (TEN) • หยุดยาที่คาดว่าจะเป็นสาเหตุทั้งหมด

  20. Management • HIV positive และมีระดับ CD4+ count < 200 cell/µL(63 cell/µL) • มีความจำเป็นต้องได้รับยา ARV • ผู้ป่วยรายนี้เกิดการแพ้ยา หยุดยาnevirapine • ยาในสูตร NNRTIs-based regimen เป็นสูตรยาที่พบการดื้อยาได้บ่อย • ยาที่ไม่คาดว่าจะเป็นสาเหตุของการแพ้ในครั้งนี้ คือ lamivudineและ stavudineควรพิจารณาให้ต่อ

  21. Therapeutic plan • Lastavir 1x2 pc เช้า 08.30 น. • เย็น 20.00 น.

  22. Goal • ผื่นแพ้ยาของผู้ป่วยดีขึ้นและหายไป • หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่อาจทำให้ผู้ป่วยเกิดการแพ้ยาซ้ำหรือทำให้การแพ้รุนแรงขึ้น

  23. Monitoring • Therapeutic monitoring : • ติดตามอาการทางผิวหนังอันบ่งบอกถึงการแพ้ยาของผู้ป่วย • ติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยา ดังต่อไปนี้ • Stavudine :Peripheral neuropathy,lactic acidosis • Lamivudine : Headache,N/V

  24. Education plan • ให้ผู้ป่วยทราบถึงยาที่สงสัยว่าเป็นสาเหตุให้เกิดการแพ้และสาเหตุที่ทำให้ต้องหยุดยา • แนะนำผู้ป่วยว่าในกรณีที่เกิดผื่น ตาแดง และปากบวมรุนแรงขึ้น หรือมีอาการเจ็บในช่องปาก ปัสสาวะแสบร่วมด้วย ให้รีบกลับมาพบแพทย์ก่อนวันนัด

  25. Future plan • นัดติดตามผู้ป่วยในอีก 1 อาทิตย์ถัดไป • ตรวจ Liver function test ในการติดตามครั้งต่อไป • หากอาการของผู้ป่วยดีขึ้นพิจารณาให้ยา ARV แก่ผู้ป่วยอีกครั้ง • Lastavir 1x1 pc ร่วมกับ Efavirenz 200 mg 1x1hs • คำแนะนำอาการข้างเคียงที่อาจเกิดจากการใช้ Efavirenz :เวียนศีรษะ ฝันร้าย ประสาทหลอน มึนงง • หลีกเลี่ยงการทานยาร่วมกับอาหารไขมันสูงเนื่องจากจะเพิ่มการดูดซึมยา • CD4+ count อีก 3 เดือน & Viral load ในอีก 6 เดือน • การประเมินความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วย

  26. Problem 2 : Opportunistic infections with DRP need for additional therapy Assessment สาเหตุ :- ปัจจัยเสี่ยง : CD4 count 65 cell/mm2(500-1,600 cell/mm2 ) CD4<350 ---Oral thrush, TB, Herpes Zoster, Bacterial infection CD4<200 ---Pneumocystisjiroveci pneumonia TB นอกปอด CD4<100---Toxoplasmosis encephalitis, Cryptococcal meningitis, Penicillosis

  27. Assessment ความรุนแรง: ปานกลาง การประเมินยาที่ผู้ป่วยได้รับ: Indication Opportunistic infectionsCo-trimoxazole, Fluconazole---First-line therapyprimary และ secondary prophylaxis PCP

  28. PCP

  29. Safety • ยาที่สงสัยอยู่ 3 ชนิดด้วยกันคือ Co-trimoxazole, Fluconazoleและ GPO S30 • Co-trimoxazole --maculopapularrash 3% • alternative therapy ---dapsone (class BI)

  30. Cross-Reactivity Cotrimoxazole -Dapsone = 0-55%

  31. Adherence Oral admistration Cost,benefit UC

  32. Fluconazole Indication

  33. safety • Underlining เป็นผื่นแพ้ยา แบบ MP rash • Alternative drug คือ Itraconazole • (class BI) Adherence รับประทานเพียงสัปดาห์ละครั้ง Cost,benefit

  34. tuberculosis นอกปอด candidiasis

  35. Plan • เป้าหมายการรักษา: ป้องกันการเกิด opportunistic infections • แผนการรักษา: หยุดยา ที่ใช้ป้องกัน opportunistic infections เป็นเวลา 1 สัปดาห์

  36. Mornitor • อาการผื่นแพ้ยา • PCPไข้สูง ไอแห้ง หายใจลำบาก Sputum examination • Cryptococcosisปวดศรีษะมาก มีไข้ คอแข็ง ตาพร่า กลัวแสง • CSFcryptococcal AG titer <1:8 • Histoplasmosisมีไข้ น้ำหนักลด ปอดอักเสบ • Urine Histo AG > 2 • Toxoplasmagondiiปวดหัวมาก ชัก มีไข้ แขนขา อ่อนแรง • Anti-toxoplasmaIgG +ve • ผลตรวจ CT/MRI brain

  37. Patients education หลังจากใช้ยา ARVแล้วยังคงมีผื่นอยู่ให้กลับมา โรงพยาบาลและหมั่นสังเกตอาการว่ามีความผิดปกติของผื่นมากขึ้นหรือไม่และแนะนำผู้ป่วยหากเกิดอาการแสดงของโรคติดเชื้อฉวยโอกาสที่อาจจะเกิดขึ้นให้กลับมาโรงพยาบาลเพื่อรับการรักษา

  38. Future plan นัดผู้ป่วยมา Follow up--prevention Opportunistic Infections

  39. 정말 감사합니다 ขอบคุณมากๆค่ะ มีความสุขทุกคนคับ

More Related