1 / 3

ประชาชน

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ ( SLM ) การดำเนินงานด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. กำหนดเมื่อ 20 เมษายน 2553. ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม. ชุมชนสามารถจัดทำแผนงานโครงการ ด้าน Env.Occ.

Download Presentation

ประชาชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การดำเนินงานด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กำหนดเมื่อ 20 เมษายน 2553 ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ชุมชนสามารถจัดทำแผนงานโครงการด้าน Env.Occ. • ชุมชนสามารถกำหนดและใช้มาตรการทางสังคมในการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ประชาชน ชุมชนสามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยชุมชน อสม./แกนนำชุมชน/กองทุนต่าง ๆ และประชาสังคม มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนสนับสนุนการดำเนินงาน อปท.มีนโยบายด้าน Env-Occ และมีการขับเคลื่อนในการเฝ้าระวังป้องกันการแก้ไขปัญหา องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร ภาคี หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม พัฒนา สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ภาคีเครือข่ายมีการประสานงานและร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบจัดการความรู้/ข้อมูลข่าวสาร/ระบบสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ ระบบบริหารจัดการ/ทรัพยากร องค์ความรู้/ เทคโนโลยี/กำกับติดตาม ที่ดีมีประสิทธิภาพ องค์กรมีวัฒนธรรมและโครงสร้างที่เอื้อต่อการทำงาน ระบบข้อมูลด้าน Env.Occ มีประสิทธิภาพ พื้นฐาน บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด

  2. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ปี 2554 - 2558 ประชาชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม • ชุมชนสามารถกำหนดและใช้มาตรการทางสังคมในการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง • ส่งเสริมการจัดเวทีสมัชชาสุขภาพ • สร้างมาตรการเพื่อควบคุมพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมในชุมชน • สนับสนุนการใช้มาตรการเพื่อการสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในชุมชน • ชุมชนสามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยชุมชน • ส่งเสริมให้ชุมชนสามารถเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยชุมชน • สนับสนุนให้มีข้อมูลโรคและภัยของชุมชน • สนับสนุนให้มีการสื่อสารด้านโรคและภัยสุขภาพให้กับชุมชน • ชุมชนสามารถจัดทำแผนงานโครงการด้าน Env-Occ • พัฒนาศักยภาพแกนนำในการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ในงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน • พัฒนาศักยภาพการจัดทำแผนงาน /โครงการของชุมชน • ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดทำแผนงาน/โครงการระหว่างชุมชน ประชาชน • หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม พัฒนา สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม • สนับสนุนการจัดทำแผนงาน หรือข้อตกลงระหว่างองค์กรเครือข่ายสุขภาพทั้งในและระหว่างประเทศ • ส่งเสริมและสร้างความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ • พัฒนา กฏ ระเบียบข้อบังคับ มาตรการแนวทาง ที่เอื้อต่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ • อปท.มีนโยบายด้าน Env-Occ และมีการขับเคลื่อนในการเฝ้าระวังป้องกันการแก้ไขปัญหา • ส่งเสริมการจัดทำแผนงาน โครงการร่วมกับท้องถิ่นและเครือข่ายองค์กรชุมชน • สร้างเครือข่ายความร่วมมือการประสานงานด้านวิชาการ และการจัดการทรัพยากร • พัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรและกองทุนสุขภาพตำบลที่มีประสิทธิภาพ • พัฒนา กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรการทางสังคมในชุมชน อสม./แกนนำชุมชน/กองทุนต่าง ๆ และประชาสังคม มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนสนับสนุนการดำเนินงาน • พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ • สร้างแรงจูงใจการมีส่วนร่วมสนับสนุนงานชุมชน • ส่งเสริมการสร้างความร่วมมือของเครือข่ายสุขภาพชุมชน • องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร • สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการจัดการทรัพยากร • ส่งเสริมความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างองค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและ นอกประเทศ • สนับสนุนวิชาการเทคโนโลยี สารสนเทศ ในงานเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ภาคี • ระบบบริหารจัดการ/ทรัพยากร องค์ความรู้/ เทคโนโลยี/กำกับติดตาม ที่ดีมีประสิทธิภาพ • พัฒนาระบบการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ • พัฒนาองค์ความรู้เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม • พัฒนากลไกการจัดการทรัพยากร และเทคโนโลยีสารสนเทศ • การประเมินและการจัดการความเสี่ยงทางสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม • พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม • ภาคีเครือข่ายมีการประสานงานและร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพ • สร้างและพัฒนาความสัมพันธ์กับเครือข่ายสุขภาพทุกระดับ • สร้าง กลไกในการบูรณาการแผนการเฝ้าระวัง • พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ ระบบจัดการความรู้/ข้อมูลข่าวสาร/ระบบสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความรู้ • พัฒนาการสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย มีความหลากหลายและมีประสิทธิภาพ • พัฒนาระบบการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ • องค์กรมีวัฒนธรรมและโครงสร้างที่เอื้อต่อการทำงาน • พัฒนาระบบโครงสร้างขององค์กรให้มีศูนย์ประสานงานเครือข่าย • พัฒนาคุณภาพองค์กรตามมาตรฐานPMQA • องค์กรผาสุก Happy work place • ระบบข้อมูลด้าน Env.Occ มีประสิทธิภาพ • พัฒนาบุคลากรสามารถจัดการฐานข้อมูลด้าน Env.Occ • พัฒนาฐานข้อมูลให้เชื่อมโยงตั้งแต่ระดับชุมชนถึงส่วนกลาง • สร้างและสนับสนุนศูนย์ข้อมูลสารสนเทศด้าน Env.Occ ทุกระดับ • บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด • พัฒนาสมรรถนะบุคลากรในการดำเนินงาน Env.Occ • สร้างเสริมความรู้และประสบการณ์และฝึกทักษะด้าน Env.Occ และการจัดการเครือข่าย • สนับสนุนให้บุคลากรและแกนนำได้แสดงศักยภาพผลการดำเนินงาน พื้นฐาน 2

  3. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (Mini-SLM) งานโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กำหนดเมื่อ 20 เมษายน 2553 ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ชุมชนสามารถกำหนดและใช้มาตรการทางสังคมในการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ชุมชนสามารถจัดทำแผนงานโครงการด้าน Env.Occ. อบรมให้ความรู้แกนนำชุมชนเรื่องการทำแผนและใช้มาตรการทางสังคมในการแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง** ชุมชนสามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยชุมชน การพัฒนาศักยภาพในการทำแผนงานโครงการของชุมชน** ประชาชน สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ** อสม./แกนนำชุมชน/กองทุนต่าง ๆ และประชาสังคม มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนสนับสนุนการดำเนินงาน อปท.มีนโยบายด้าน Env-Occ และมีการขับเคลื่อนในการเฝ้าระวังป้องกันการแก้ไขปัญหา องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร จัดทำข้อตกลงร่วมกัน (MOU)** ให้แกนนำจัดทำแผนงานโครงการอย่างง่ายเพื่อพัฒนาชุมชน** จัดให้องค์กรเอกชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์** ภาคี หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม พัฒนา สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม จัดทำแผนกลยุทธ์ร่วมกันระหว่างหน่วยงาน** ระบบบริหารจัดการทรัพยากร/องค์ความรู้ ภาคีเครือข่ายมีการประสานงานและร่วมมือกันอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการความเสี่ยง Env.Occ.** พัฒนาภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพให้เป็นผู้นำทางด้านการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม** ระบบจัดการความรู้/ข้อมูลข่าวสารที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ พัฒนาระบบการสื่อสารตามมาตรฐานสากลและสารสนเทศเทคโนโลยี** ระบบข้อมูลด้าน Env.Occ มีประสิทธิภาพ บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะและศักยภาพในการดำเนินงาน Env.Occ สอนงาน On the job Training จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน/ประชุมชี้แจง** จัดระบบการเก็บข้อมูลและประมวลผล** (รวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห์และประมวลผล) พื้นฐาน องค์กรมีวัฒนธรรมและโครงสร้างที่เอื้อต่อการทำงาน ประเมินคุณภาพองค์กร** ( ** คือ กิจกรรม )

More Related