1 / 39

1. สกุลยุงลาย ( Genus Aedes ) 2. สกุลยุงรำคาญ ( Genus Culex )

ยุงที่สำคัญในทางการแพทย์มี 4 สกุล. 1. สกุลยุงลาย ( Genus Aedes ) 2. สกุลยุงรำคาญ ( Genus Culex ) 3. สกุลยุงก้นปล่อง ( Genus Anopheles ) 4. สกุลยุงเสือหรือยุงฟิลาเรีย ( Genus Mansonia ). ยุงลาย. ยุงก้นปล่อง. ยุงรำคาญ. ยุงเสือ. ยุงลาย. ยุงก้นปล่อง. ยุงเสือ. ยุงรำคาญ.

Download Presentation

1. สกุลยุงลาย ( Genus Aedes ) 2. สกุลยุงรำคาญ ( Genus Culex )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุงที่สำคัญในทางการแพทย์มี 4 สกุล 1. สกุลยุงลาย (Genus Aedes) 2. สกุลยุงรำคาญ (Genus Culex) 3. สกุลยุงก้นปล่อง (Genus Anopheles) 4. สกุลยุงเสือหรือยุงฟิลาเรีย (Genus Mansonia)

  2. ยุงลาย ยุงก้นปล่อง ยุงรำคาญ ยุงเสือ

  3. ยุงลาย ยุงก้นปล่อง ยุงเสือ ยุงรำคาญ

  4. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยุงความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยุง ยุงมีการเจริญเติบโตแบบสมบูรณ์ (Holometabolous) คือ มีระยะไข่ ลูกน้ำ ตัวโม่ง และตัวเต็มวัย โดยแต่ละขั้นตอนการเจริญเติบโตจะมีรูปร่าง แตกต่างกัน

  5. ลักษณะทั่วไป ส่วนหัว ส่วนอก ส่วนท้อง

  6. ลักษณะทั่วไป Culicinae ช่วยให้แยกเพศของยุงได้ง่าย ตัวผู้ ตัวเมีย Anophelinae ส่วนหัว

  7. ลักษณะทั่วไปของปาก ปากของยุงตัวเมียไว้สำหรับแทงดูดเลือด ปากของยุงตัวผู้ใช้แทงดูดกินเลือดไม่ได้แต่ใช้ดูดน้ำหวานได้ ส่วนหัว

  8. ลักษณะการดูดเลือดของยุงลักษณะการดูดเลือดของยุง ยุงจะปล่อยน้ำลายที่มีสารป้องกันเลือดแข็งตัวเพื่อช่วยให้ดูดเลือดได้ง่ายและนานพอจนอิ่ม เส้นโลหิตฝอย

  9. ปากของเพศเมียมีลักษณะคล้ายเข็มฉีดยา (styles)

  10. ปีก 2 คู่ • (ปีกคู่หน้าใช้บิน ปีกคู่หลังใช้ทรงตัว) • ขา 3 คู่ ส่วนอก

  11. ปล้องท้อง 10 ปล้อง • ปลายท้องปล้องที่ 8 • ของเพศเมีย มีอวัยวะ • สืบพันธุ์ 1 คู่ ส่วนท้อง

  12. ลักษณะโครงสร้างภายในของยุงลักษณะโครงสร้างภายในของยุง

  13. - ยุงลายตัวเมียจะผสมพันธุ์เพียงครั้งเดียวสามารถวางไข่ได้ตลอดชีวิต ครั้งละ 40-100 ฟอง • ออกหากกินไม่ไกล จากแหล่งเพาะพันธุ์ โดยทั่วไปมักบินไปไม่เกิน 50 เมตร - ส่วนใหญ่ยุงลายบ้านชอบกัดคนในบ้าน ส่วนยุงลายสวนชอบกัดคนนอกบ้าน - ยุงลายชุกชุมมากในฤดูฝนช่วงหลังฝนตกเพราะอุณหภูมิ และความชื้น พอเหมาะแก่การแพร่พันธุ์ ความรู้เกี่ยวกับยุงลาย ความรู้เกี่ยวกับยุงลาย

  14. ไข่ยุงลาย ลูกน้ำ ตัวโม่ง สีวิกา แสงธาราทิพย์ สำนักงานควบคุมโรคไข้เลือดออก วงจรชีวิตของยุงลาย 4-5 วัน 1-2 วัน ยุงลาย 7-10 วัน ตัวผู้ 7 วัน ตัวเมีย 30 - 45 วัน 1-2 วัน

  15. ยุงลายบ้าน Aedes aegypti เป็นพาหะนำโรค 98 % ยุงลายสวน Aedes albopictusเป็นพาหะนำโรค 2 % ความรู้เกี่ยวกับยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก

  16. พฤติกรรมของยุงลาย ยุงลายตัวผู้ กินน้ำหวานอย่างเดียว ยุงลายตัวเมีย กินน้ำหวานและเลือด น้ำหวาน แหล่งพลังงาน เลือด โปรตีนในเลือด พัฒนาไข่

  17. ผิวน้ำจ้ะ การวางไข่ของยุงลาย

  18. ไข่ยุงลาย

  19. 1.2 % 0.9 % 67.8 % 30.1% ยุงลายชอบวางไข่ที่ใด 4.6 เมตร 3.0 เมตร 1.2 เมตร 0 เมตร

  20. ลูกน้ำยุงก้นปล่อง ลูกน้ำยุงรำคาญ

  21. สีวิกา แสงธาราทิพย์ สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค โทร. 0-2965-9609 e-mail: saengths@yahoo.com แหล่งเกาะพักของ ยุงลาย 1.ยุงลายเกาะเสื้อผ้าที่ห้อยแขวน ร้อยละ 66.5 3.ยุงลายเกาะข้างฝา ร้อยละ 2.5 2.ยุงลายเกาะมุ้ง เชือกมุ้ง ตามเครื่องเรือน โคมไฟ ร้อยละ 31

  22. น้ำสกปรก ก็วางไข่ได้ น้ำโสโครก น้ำครำ น้ำเน่าเสีย ท่อระบายน้ำ ยุงลายชอบวางไข่ในภาชนะเก็บน้ำที่เป็นน้ำนิ่งและน้ำใส แต่ยุงลายไม่ชอบ น้ำจืดและสะอาด ยุงลายชอบ

  23. การป้องกันโรคล่วงหน้าการป้องกันโรคล่วงหน้า เน้นการกำจัดลูกน้ำยุงลาย การควบคุมการระบาด ต้องกำจัดทั้งตัวยุงลาย และลูกน้ำยุงลาย มาตรการในการควบคุมยุงลาย แบ่งออกเป็น การป้องกันโรคล่วงหน้าและการควบคุมการระบาด

  24. ทางกายภาพ ทางชีวภาพ ทางเคมี วิธีการกำจัดลูกน้ำ • - ใช้ทรายกำจัดลูกน้ำ • - การใช่เกลือแกง /น้ำส้มสายชู/ผงซักฟอก • การใช้สารยับยั้งการเจริญเติบโต • Bti • . ศัตรูธรรมชาติ • - ปลาหางนกยูง • - ปลากัด • - ปลาสอด • - ปลาหัวตะกั่ว • - ปลาตะเพียน • - ตัวอ่อนแมลงปอ • . ผลิตภัณฑ์จากพืช • - การใช้ผลมะกรูด - การปิดปากภาชนะเก็บน้ำ - การเปลี่ยนน้ำทุก 7 วัน - การเก็บทำลายเศษวัสดุที่ไม่ ใช้แล้ว - การกลบ ถม หรือระบายน้ำ - การใช้ขันดักลูกน้ำ - การขัดล้างภาชนะ

  25. อาจปิดปากโอ่ง ด้วยผ้ามุ้ง หรือตาข่าย ไนล่อนชนิดถี่ ต้องปิดฝา ให้มิดชิด จึงจะป้องกัน ยุงลายเข้าไป วางไข่ การป้องกันกำจัดลูกน้ำยุงลายทางกายภาพ

  26. การกำจัดลูกน้ำยุงลายทางกายภาพการกำจัดลูกน้ำยุงลายทางกายภาพ ควรเปลี่ยนน้ำทุก 7 วัน และขัดล้างผิวด้านในด้วย เพื่อกำจัดไข่ที่ติดอยู่ หรือปลูกด้วยดิน แทนการแช่ในน้ำ

  27. ปลาหางนกยูง ลูกน้ำยุงยักษ์ มวนกิ่งไม้น้ำ มวนกรรเชียง ตัวอ่อนแมลงปอ แมลงเหนี่ยง ไรน้ำจืด การกำจัดลูกน้ำยุงลายทางชีวภาพ

  28. ผลิตภัณฑ์ ชนิด 1% ใช้ในอัตรา 1 กรัมต่อน้ำ 10 ลิตร หรือ 20 กรัมต่อน้ำ 200 ลิตร ผลิตภัณฑ์ ชนิด 2 % ใช้ในอัตรา 0.5 กรัมต่อน้ำ 10 ลิตร หรือ 10 กรัมต่อน้ำ 200 ลิตร การกำจัดลูกน้ำยุงลายทางเคมี

  29. ผลิตภัณฑ์กำจัดลูกน้ำมีความเป็นพิษต่อคนน้อยผลิตภัณฑ์กำจัดลูกน้ำมีความเป็นพิษต่อคนน้อย ต้องบริโภคทรายกำจัดลูกน้ำชนิด 1% จำนวน 3.4 กิโลกรัม จึงจะเสียชีวิต เนื่องจากพิษของสารเคมี น้ำหนักตัว 4 กิโลกรัม ต้องบริโภคทรายกำจัดลูกน้ำชนิด 1% จำนวน 10.3 กิโลกรัม จึงจะเสียชีวิต เนื่องจากพิษของสารเคมี ต้องบริโภคทรายกำจัดลูกน้ำชนิด 1% จำนวน 43 กิโลกรัม จึงจะเสียชีวิต เนื่องจากพิษของสารเคมี น้ำหนักตัว 12 กิโลกรัม ต้องบริโภคทรายกำจัดลูกน้ำชนิด 1% จำนวน 21.5 กิโลกรัม จึงจะเสียชีวิต เนื่องจากพิษของสารเคมี น้ำหนักตัว 25 กิโลกรัม น้ำหนักตัว 50 กิโลกรัม

  30. แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

  31. แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

  32. แหล่งเพาะพันธุ์นอกบ้านแหล่งเพาะพันธุ์นอกบ้าน

  33. แหล่งเพาะพันธุ์นอกบ้านแหล่งเพาะพันธุ์นอกบ้าน

  34. แหล่งเพาะพันธุ์นอกบ้านแหล่งเพาะพันธุ์นอกบ้าน

  35. ความรู้เรื่องชีวนิสัยของยุงลายทำให้ตระหนักว่า ไม่ควรควบคุมยุงลายโดยการพ่นสารเคมี ซึ่งมีฤทธิ์ตกค้างไปตามท่อระบายน้ำ แต่ควรเน้นไปที่แหล่งเกาะพักดังกล่าว ซึ่งอยู่ภายในบ้าน และควรพ่นในเวลากลางวัน ซึ่งเป็นเวลาที่ยุงลายออกหากิน ในการกำจัดลูกน้ำยุงลายก็เช่นเดียวกัน คงจะไม่มีใครมุ่งความสนใจไปที่แหล่งน้ำสกปรก หรือท่อระบายน้ำอีกต่อไป

  36. แต่เมื่อมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแต่เมื่อมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก เกิดขึ้นในชุมชน การควบคุมการระบาด ต้องกำจัดทั้งตัวยุงลาย และลูกน้ำยุงลาย

  37. การมีส่วนร่วมของประชาชน จัดว่ามีความสำคัญมากที่สุด จากประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมาของอาจารย์หลายๆ ท่านปรากฏว่า การควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยหน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับเพียงอย่างเดียวไม่สามารถบรรลุผลสำเร็จได้ หรืออาจเกิดผลเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ ดังนั้นเจ้าของบ้านแต่ละบ้านควรมั่นดูแลกำจัดลูกน้ำยุงลายภายในบ้านของตนเอง

More Related