340 likes | 1.07k Views
การพัฒนาบุคลกรด้าน IC ของหอผู้ป่วย/หน่วยงาน. ศูนย์พัฒนาคุณภาพ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ทีมนำเฉพาะด้าน ( ENV, RM, HRD, MIS, PCT, MSO, NSO ฯลฯ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง. ผู้อำนวยการโรงพยาบาล. คณะกรรมการ IC. I งานด้าน การเฝ้าระวัง. V งานด้าน บริการคลินิก. IV งานด้าน วิชาการ
E N D
การพัฒนาบุคลกรด้าน IC ของหอผู้ป่วย/หน่วยงาน
ศูนย์พัฒนาคุณภาพ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ทีมนำเฉพาะด้าน (ENV, RM, HRD, MIS, PCT, MSO, NSO ฯลฯ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้อำนวยการโรงพยาบาล คณะกรรมการ IC I งานด้าน การเฝ้าระวัง V งานด้าน บริการคลินิก • IV งานด้าน • วิชาการ • ส่งเสริมความรู้ด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล • จัดทำและทบทวนคู่มือ/แนวปฏิบัติด้าน IC • เผยแพร่ข้อมูล/ข่าวสารความก้าวหน้า ด้าน IC • ติดตามการปฏิบัติตามคู่มือ/แนวปฏิบัติ ด้าน IC • ติดตามประเมินทักษะของบุคลากรในการปฏิบัติเพื่อป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ • ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและการใช้ evidence based ด้าน IC II งานด้าน การป้องกันและควบคุมโรค III งานด้าน การสอบสวนโรค
ด้านวิชาการ งานการพยาบาล ผ.ต.ก ผู้ดูแล IC หอผู้ป่วย ICWN ฝ่ายการพยาบาล ICN
1.การส่งเสริมความรู้ เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะบุคลากร ด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ ในโรงพยาบาล
ฝ่ายการพยาบาล ICN พัฒนาความรู้ทักษะบุคลากร และ ประเมินความรู้และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (ทั้งขององค์กร และ ตามความต้องการของงาน) ในบุคลากรทุกระดับ ทั้งบุคลากรที่เข้าปฏิบัติงานใหม่ และบุคลากรที่ปฏิบัติงานประจำ ตัวชี้วัด จำนวน/อัตราที่บุคลากรได้รับการอบรมความรู้ตาม training need
งานการพยาบาล • วิเคราะห์ผลการประเมินการปฏิบัติตามมาตรการที่เป็นปัญหา • รวบรวมความต้องการ/ความจำเป็นในเรื่องที่ต้องการเพิ่มพูนความรู้และทักษะของบุคลากร • ส่งบุคลากรเข้าอบรม • Icwn • ประเมินการปฏิบัติความรู้ทักษะตาม ทางด้าน IC ของบุคลากร • Training need ให้ความรู้ ICWN ICN • ส่งบุคลากรเข้าอบรม
2. จัดทำ/จัดหาคู่มือ/เอกสารสื่อการเรียนการสอน และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ICC & ฝ่ายการพยาบาล ICN จัดทำคู่มือ ได้แก่
คู่มือและแนวทางปฏิบัติในเรื่อง IC • การทำความสะอาด ทำลายเชื้อ และทำให้ปราศจากเชื้อ • การป้องกันและควบคมการติดเชื้อแบบ Universal Precaution • การแยกและกำจัดขยะ • การป้องกันการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะ • การแยกผู้ป่วย (Patient Isolation) • การป้องกันการติดเชื้อ MRSA • การเฝ้าระวังการติดเชื้อ (Surveillance) • นิยามและแผลผ่าตัดประเภทต่างๆ
คู่มือการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลคู่มือการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล • แนวปฏิบัติเรื่องการล้างมือ • การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในห้องปฏิบัติการ • การล้างทำความสะอาดอุปกรณ์ทางการแพทย์ • การปฏิบัติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อแบบมาตรฐาน • แนวทางการสอบสวนโรคสุกใสโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ • การให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้กาฬหลังแอ่นในบุคลากรที่สัมผัส • แนวทางปฏิบัติเมื่อได้รับอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ • แนวปฏิบัติเมื่อเกิดภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี จากการปฏิบัติงาน
http://www.med.cmu.ac.thคณะกรรมการโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลhttp://www.med.cmu.ac.thคณะกรรมการโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล • แนวทางการสอบสวนโรคสุกใสโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ • การให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้กาฬหลังแอ่นในบุคลากรที่สัมผัส • แนวทางปฏิบัติเมื่อได้รับอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ • แนวปฏิบัติเมื่อเกิดภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี จากการปฏิบัติงาน
งานการพยาบาล • ติดตามข้อมูลข่าวสารและรวบรวมแนวทางการปฏิบัติในเรื่อง IC • สื่อสารไปยังหน่วยงานอย่างทั่วถึง • Icwn • รวบรวมคู่มือด้าน IC • เจ้าหน้าที่รับทราบ
3. ศึกษาวิจัยและพัฒนาคุณภาพ เพื่อดำรงประสิทธิภาพการปฏิบัติการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อให้อยู่บนมาตรฐานของงานวิจัย
ฝ่ายการ ฯ ICN+ QA+วิจัย EBP
งานการพยาบาล • ติดตามการปฏิบัติตาม EBPIC • สื่อสารไปยังหน่วยงานอย่างทั่วถึง • Icwn • EBP IC • การศึกษาวิจัย
การปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่วางไว้การปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่วางไว้ มาตรการที่ถูกละเมิดบ่อย
SP. - HW ปัญหานี้จัดการอย่างไร ทำการสำรวจความรู้และสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติของบุคลากร
ผลการสำรวจความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับ Hand hygiene & Standard precautions ระหว่าง พ.ย.-ธ.ค.47
ความรู้และการปฏิบัติเรื่องHand Hygiene (Pt’ based Units)
สำรวจรู้แล้วทำอะไร กรรมการศูนย์พัฒนา / PCT DR. ปฐมนิเทศนักศึกษาแพทย์ปี 3 ชุดปฐมนิเทศนักศึกษาแพทย์ Patient based Units EXT Nurse แจ้งข้อมูลย้อนกลับแก่ NAC ,ICS และ IC สัญจร PN,HP จัดการอบรม 25,29/8/2548
Lab. & Pre-clinics ให้ข้อมูลย้อนกลับ จัดการอบรม 18 กรกฎาคม 2548 แต่ละหน่วยงาน เช่น งานบริการกลาง งานจ่ายกลาง Back office
ต่อไปนี้จะต้องช่วยกันรณรงค์ให้มีการปฏิบัติตาม SP. & HW และประเมินการปฏิบัติ
อุบัติเหตุเข็มตำเจ้าหน้าที่พยาบาล ปี 2548 • บุคลากรของเราปฏิบัติตามมาตฐานเหล่านี้หรือไม่ • การป้องกันและควบคมการติดเชื้อแบบมาตรฐาน • การแยกและกำจัดขยะ (การแยกทิ้งของมีคม) • แนวทางปฏิบัติเมื่อได้รับอุบัติเหตุจากการปฏิบัติงาน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
การสัมผัสโรค meningococcal ในบุคลากร ปี 2547 เกิด 4 ครั้ง สัมผัสโรคทั้งหมด 103 คน ปี 2548 เกิด 4 ครั้ง สัมผัสโรคทั้งหมด 240 คน การไม่ปฏิบัติตาม SP precautions ใช่หรือไม่ เกิดอะไรขึ้น ถึงมีผู้สัมผัสโรคมากขนาดนี้ • ICWN / IC Team • แหล่งการให้ข้อมูลความรู้ในเรื่องการป้องกันและควบคุม • แสวงหาความร่วมมือจาก HN ในการปฏิบัติเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ • ปฏิบัติตามแนวทางการให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้กาฬหลังแอ่นในบุคลากรที่สัมผัส
การทำลายเชื้อ และการทำให้ปราศจากเชื้อ มีการปฏิบัติที่หลากหลายไม่เป็นไปในแนวทางเดียวกัน มาตรฐานการทำความสะอาด ทำลายเชื้อ และทำให้ปราศจากเชื้อ ICWN / IC Team ดูแลให้ ปฏิบัติตาม ผู้ปฏิบัติ ICN ทำความเข้าใจ
การจัดการกับ อุปกรณ์เครื่องช่วยหายใจ
เหนื่อยนัก....อยากพักก็รู้เหนื่อยนัก....อยากพักก็รู้ แต่ก็อยากให้สู้ อีกสักครั้ง ร่วมแรงและร่วมพลัง IC ก็จักยังยั่งยืน