1 / 32

Backward Design

2. Backward Design. ทำไมต้อง Backward Disign. นักเรียน ขาดการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาไม่เป็น ไม่เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ผลสัมฤทธิ์ต่ำ ออกกลางคัน ฯลฯ. ทำไมต้อง Backward Disign. ครู ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ตอนที่ 1 ข้อ 1 เรื่อง....... ประเมินสมรรถนะ

iria
Download Presentation

Backward Design

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2 Backward Design

  2. ทำไมต้อง Backward Disign • นักเรียน • ขาดการคิดวิเคราะห์ • แก้ปัญหาไม่เป็น • ไม่เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ • ผลสัมฤทธิ์ต่ำ • ออกกลางคัน • ฯลฯ

  3. ทำไมต้อง Backward Disign • ครู • ประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน • ตอนที่ 1 ข้อ 1 เรื่อง....... • ประเมินสมรรถนะ • ตอนที่....ข้อ......เรื่อง....... • ทำผลงานทางวิชาการ • ฯลฯ

  4. ทำไมต้อง Backward Disign • โรงเรียน • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน • ระดับคะแนน 0 มากกว่า ร้อยละ 5 • ระดับคะแนน ระดับ ดี ( 3-4) น้อยกว่า ร้อยละ65 • คะแนน NT , O-Net , Las ต่ำ • รองรับการประเมินภายนอก • โรงเรียนดีประจำตำบล • โรงเรียนพระราชทาน • ฯลฯ

  5. แนวโน้มจาก PISA 2000 - PISA 2006 ไทย ระดับประเทศ

  6. สสวท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 600 550 500 450 417 400 350 300 จีน - ไทเป ฟินแลนด์ เกาหลี จีน - ฮ่องกง จีน - มาเก๊า ญี่ปุ่น ไทย ผลการประเมินด้านคณิตศาสตร์ คะแนนคณิตศาสตร์ 549 548 547 547 525 523 คะแนนเฉลี่ย OECD 391 อินโดนีเซีย (PISA 2006)

  7. สสวท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 0.2 ระดับสมรรถนะทางคณิตศาสตร์ ฟินแลนด์ เกาหลี จีน - ฮ่องกง จีน - มาเก๊า จีน - ไทเป ญี่ปุ่น ค่าเฉลี่ย OECD ไทย อินโดนีเซีย 80 60 40 20 0 20 40 60 80 100 % นักเรียน ต่ำกว่าระดับ 1 ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับ 6 (PISA 2006)

  8. กระบวนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้กระบวนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ หลักสูตร โครงการสอน ออกแบบการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ การประเมินตามสภาพจริง

  9. การออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้การออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ (Backward Design)

  10. กิจกรรมที่มีผลต่อการเรียนรู้กิจกรรมที่มีผลต่อการเรียนรู้ - ฟัง 5% - ฟังและดู 15% - ฟัง ดู อ่านและอภิปราย 45% - ฝึกปฏิบัติ 85%

  11. O(objective) E(evaluation) L(learning experiences) Traditional Design

  12. O(objective) L(learning experiences) E(evaluation) Backward Design

  13. การออกแบบการจัดการเรียนรู้การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การออกแบบย้อนกลับ Backward Design หรือ กระบวนการ กำหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิดขึ้น (Identify desired results) กำหนดหลักฐานการแสดงออกของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิดขึ้น (Determine acceptable evidence of learning) ออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ (Plan learning experiences and instruction)

  14. การกำหนดความรู้ความสามารถของผู้เรียนที่ต้องการ(Identify desired results) มาตรฐานการเรียนรู้ของหน่วยการเรียน ผู้เรียนจะต้องมี ความรู้ ความเข้าใจ...เรื่องอะไร ผู้เรียนต้องมีความสามารถ...ทำอะไรได้ ความรู้และความสามารถอะไรที่ควรเป็น..... ความเข้าใจที่คงทน(Enduring understanding)

  15. การจัดลำดับเนื้อหา ให้ผู้เรียน....อ่าน...ศึกษา ค้นคว้าประกอบ.... ค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง ความรู้ที่จะให้ผู้เรียนคุ้นเคย ความรู้....ทักษะที่สำคัญ ที่ต้องใช้ระหว่างเรียน สิ่งสำคัญที่ต้องรู้และต้องทำ (ความรู้และทักษะที่สำคัญ) ความคิดหลัก .... หลักการที่สำคัญของหน่วย ความเข้าใจที่คงทน

  16. ความเข้าใจที่คงทน เป็นความรู้ที่.... นำไปใช้ได้ ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง เป็นกระบวนการที่ผู้เรียน ออกแบบ...ค้นพบด้วยตนเอง เป็นนามธรรมที่.....ถูกจัดในรูป กิจกรรม/ประสบการณ์เรียนรู้

  17. ตัวอย่าง....ความเข้าใจที่คงทนตัวอย่าง....ความเข้าใจที่คงทน การสร้างหุ่นจำลอง... การโต้วาที... การทดลอง.... การสัมภาษณ์... การรายงาน.... การนำเสนอ..... การออกแบบ.... เขียนผังความคิด... โครงงาน.... การแสดง.... การแก้ปัญหา.... การผลิต... การปฏิบัติจริง....

  18. กำหนดหลักฐานการแสดงออกของผู้เรียนที่ต้องการให้เกิดขึ้น(Determine acceptable evidence of learning) คำถาม รู้ได้อย่างไรว่า....... ผู้เรียนมีความรู้....ความเข้าใจ ตามมาตรฐาน หรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหน่วยการเรียนรู้ที่กำหนด การแสดงออกของผู้เรียน....ควรมีลักษณะอย่างไร... จึงจะยอมรับได้

  19. คำตอบ.... ประเมินผลการเรียนรู้ เป็นระยะ หลากหลาย เป็นทางการ ไม่เป็นทางการ

  20. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การทดสอบ ปรนัยเลือกตอบ อัตนัย ความรู้ที่จะให้ผู้เรียนคุ้นเคย การประเมินตามสภาพจริง การสังเกตพฤติกรรม การทดสอบเขียนตอบ สิ่งสำคัญที่ต้องรู้และต้องทำ (ความรู้และทักษะที่สำคัญ) การประเมินตามสภาพจริง ความเข้าใจที่คงทน

  21. ออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้(Plan learning experiences and instruction) กำหนดหลักฐานการแสดงออกของผู้เรียน กำหนดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ กำหนดความคิดรวบยอดหลัก( Core concepts ) กำหนดความรู้และทักษะเฉพาะวิชา( Subject-specific standard ) กำหนดความสอดคล้องKnowledge , Process , Attitude

  22. ออกแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้(Plan learning experiences and instruction) กำหนดทักษะคร่อมวิชา( Trans-disciplinary skill standards) กำหนดแบบการประเมินผลการเรียนรู้ กำหนดกลุ่มกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ กำหนดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ สื่อ แหล่งเรียนรู้ ตรวจสอบความเหมาะสม นำไปใช้

  23. โครงการสอน

  24. ตารางออกแบบการจัดการเรียนรู้ (1)

  25. 1ชื่อหน่วยการเรียนรู้ จากโครงการสอน หรือ กำหนดชื่อเองเพื่อเร้าใจในการเรียน 2มาตรฐานการเรียนรู้ จากโครงการสอน (มาจากหลักสูตร –มาตรฐานการเรียนรู้ชั้นปี) 3ความคิดหลัก แยกประเด็น(ตัดคำ)มาจากมาตรฐานการเรียนรู้ 4 ความเข้าใจที่คงทน/ภาระงาน สอดคล้องกับจุดประสงค์ของหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น/ชั้นปีและตัวชี้วัดความสำเร็จ

  26. 5 จิตพิสัย คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องการให้เกิด เพื่อนำไปสู่คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อหนึ่งหรือมากกว่า ใน 8 ข้อของหลักสูตร 7ความรู้ ทักษะเฉพาะวิชา สาระ เนื้อหาที่จะสอนในหน่วยนี้ ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรประกอบด้วย ความรู้ ( K )ทักษะกระบวนการ (P) และค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม( A ) 8 ทักษะคร่อมวิชา คำถึงการประเมินผลที่จะต้องเชื่อมโยงกับรายวิชาใด

  27. ตารางออกแบบการจัดการเรียนรู้ (2)

  28. 1การวัดและประเมินผลจากความคิดหลัก/ภาระงาน 1 ต่อ1( ตารางละ 1ข้อ ) 2กิจกรรม ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน (ย่อๆ) (จำแนกรายคาบหรือสองคาบตามที่สอนจริง) เพื่อนำไปสู่การวัดและประเมินผล 3สื่อ/นวัตกรรม ที่ใช้ในกิจกรรมทั้งหมด 4แหล่งเรียนรู้ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม ค้นคว้าเพิ่มเติม ทั้งในและนอกเวลาเรียน 5ภูมิปัญญาท้องถิ่นกรณีที่มีในกิจกรรมการเรียนการสอนหรือเพิ่มเติมนอกเวลาเรียน 6 เวลา ที่ใช้ในกิจกรรมในการสอนหนึ่งหรือสองชั่วโมง

  29. แผนการจัดการเรียนรู้(1)แผนการจัดการเรียนรู้(1) แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้............................................รายวิชา............................ รหัส ........................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ... หน่วยที่.........เรื่อง............................................................................. เวลา ........ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ .......เรื่อง .................................................................................... เวลา ..........ชั่วโมง ผู้สอน .......................................................... โรงเรียน.......................... ************************************************************************************** 1. มาตรฐานสาระการเรียนรู้ 2. สาระการเรียนรู้ 3. ภาระงาน / ผลงานของแผนการจัดการเรียนรู้ 4. การวัดผลประเมินผล 4.1 ประเด็นประเมิน 4.2 เครื่องมือการประเมิน

  30. แผนการจัดการเรียนรู้(2)แผนการจัดการเรียนรู้(2) 5. กิจกรรมการเรียนรู้ (ใช้เทคนิคการสอนแบบ 5E ; Inquiry Method ) ชั่วโมงที่..... ขั้นที่ 1. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (Engagement Phase) ขั้นที่ 2. ขั้นสำรวจและค้นพบ (Exploration Phase) ขั้นที่ 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation Phase) ขั้นที่ 4. ขั้นขยายความรู้ ( Expansion Phase) ขั้นที่ 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อการเรียนรู้ 6.2 แหล่งเรียนรู้

  31. แผนการจัดการเรียนรู้(3)แผนการจัดการเรียนรู้(3) 7. สรุปผลการจัดการเรียนรู้ 8. ปัญหาในการจัดการเรียนรู้ / แนวทางแก้ปัญหาและการพัฒนา 8.1 ปัญหาในการจัดการเรียนรู้ 8.2 แนวทางแก้ปัญหาและการพัฒนา ลงชื่อ .................................................. ผู้สอน 9 ความคิดเห็นของผู้บริหาร ลงชื่อ.......................................... ผู้อำนวยการโรงเรียน

More Related