1 / 54

ภาพรวมของการสุขาภิบาลอาหาร วันอังคาร ที่ 26 ตุลาคม 2553

วิชาการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. ภาพรวมของการสุขาภิบาลอาหาร วันอังคาร ที่ 26 ตุลาคม 2553. บรรยายโดย : สุเวช พิมน้ำเย็น อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ วท.บ.(วิทยาศาสตร์สุขภาพ) ม.ธรรมศาสตร์ ส.บ.(อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) ม.สุโขทัยธรรมาธิราช

Download Presentation

ภาพรวมของการสุขาภิบาลอาหาร วันอังคาร ที่ 26 ตุลาคม 2553

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิชาการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม 2 ภาพรวมของการสุขาภิบาลอาหารวันอังคาร ที่ 26 ตุลาคม 2553 บรรยายโดย: สุเวช พิมน้ำเย็น อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ วท.บ.(วิทยาศาสตร์สุขภาพ) ม.ธรรมศาสตร์ ส.บ.(อาชีวอนามัยและความปลอดภัย) ม.สุโขทัยธรรมาธิราช วท.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ National Institute of Development Administration: NIDA

  2. ทบทวนความหมายของ “อนามัยสิ่งแวดล้อม” และ “การสุขาภิบาล” Environmental healthมุมมองของ WHO ณ ปัจจุบัน Environmental health addresses all the physical, chemical, and biological factors external to a person, and all the related factors impacting behaviours. It encompasses the assessment and control of those environmental factors that can potentially affect health. It is targeted towards preventing disease and creating health-supportive environments. This definition excludes behaviour not related to environment, as well as behaviour related to the social and cultural environment, and genetics. (WHO http://www.who.int/topics/environmental_health/en/ วันที่ 5 ตุลาคม 2553)

  3. Sanitation มุมมองของ WHO ณ ปัจจุบัน Sanitation generally refers to the provision of facilities and services for the safe disposal of human urine and faeces. Inadequate sanitation is a major cause of disease world-wide and improving sanitation is known to have a significant beneficial impact on health both in households and across communities. The word 'sanitation' also refers to the maintenance of hygienic conditions, through services such as garbage collection and wastewater disposal. (WHO http://www.who.int/en/ วันที่ 5 ตุลาคม 2553)

  4. งานอนามัยส่งแวดล้อมหรือการสุขาภิบาลจึงสำคัญต่อสุขภาพ กล่าวคือ 1) เป็นงานที่มุ่งเน้นการควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้มีคุณภาพที่เหมาะสมต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ เช่น การควบคุมสัตว์และแมลงนำโรค 2. เป็นงานที่มุ่งเน้นการป้องกันมิให้เชื้อโรคหรือสารเคมีที่เป็นพิษเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ โดยการป้องกันไม่ให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ เช่น การสุขาภิบาลอาหารและน้ำดื่ม 3. มุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ เช่น การกำจัดน้ำเสียและสิ่งปฏิกูล การกำจัดขยะมูลฝอย ขยะอันตราย ขยะติดเชื้อ เป็นต้น

  5. ภาพรวมของการสุขาภิบาลอาหารภาพรวมของการสุขาภิบาลอาหาร วัตถุประสงค์หลัก: อธิบายความหมาย ความสำคัญ ขอบเขตของงานสุขาภิบาลอาหารได้ วัตถุประสงค์ย่อย 1. อธิบายความหมายของคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการสุขาภิบาลอาหารได้ 2. รับรู้และเข้าใจประเด็นปัญหาด้านการสุขาภิบาลอาหารที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน 3. อธิบายหลักการจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำได้

  6. การสุขาภิบาลอาหาร (food sanitation): กระบวนการจัดการและควบคุมอาหารให้สะอาดปลอดภัยจากต่อผู้บริโภค “การทำให้อาหารสะอาดปลอดภัย กินแล้วไม่เป็นโรค”

  7. Definition terms Food Sanitation Sanitary food Foodborne diseasesFoodborne illness Food poisoning / Food toxins Food additives : Food additives are substances that are added to food or animal feed during processing or storage. They include antioxidants, preservatives, colouring and flavouring agents, and anti-infective agents. Most food additives have little or no nutritional value. Food safety

  8. การจัดการและควบคุมอาหารให้สะอาด ทำได้ด้วยการจัดการและความคุมปัจจัยดังต่อไปนี้ - วัตถุดิบ • กระบวนการผลิตอาหาร • ผู้สัมผัสอาหาร • สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย • ภาชนะและอุปกรณ์ • แมลงและสัตว์นำโรค

  9. ความสำคัญของการสุขาภิบาลอาหารความสำคัญของการสุขาภิบาลอาหาร • ทำให้อาหารสะอาดปลอดภัย • ช่วยส่งเสริมสุขภาพอนามัยของผู้บริโภค • ช่วยป้องกันและควบคุมการเกิดโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ • ช่วยรักษาคุณค่าของอาหารให้คงอยู่ • ช่วยส่งเสริมให้มีการผลิตอาหารที่มีคุณภาพและมาตรฐาน • ช่วยส่งเสริมให้มีร้านจำหน่ายอาหารที่ปลอดภัย • ช่วยส่งเสริมการส่งออกสินค้าอาหาร • ช่วยสงเสริมการท่องเที่ยวสนับสนุนเศรษฐกิจไทย

  10. ขอบเขตของงานสุขาภิบาลอาหารขอบเขตของงานสุขาภิบาลอาหาร • การสุขาภิบาลสถานที่จำหน่ายอาหาร / ตลาดสด • การสุขาภิบาลอาหารทะเล / นมและผลิตภัณฑ์จากนม • การสุขาภิบาลการผลิตน้ำบริโภค / น้ำแข็ง / เครื่องดื่ม • การสุขาภิบาลการผลิตอาการกระป๋อง / อาหารกึ่งสำเร็จรูป • การสุขาภิบาลการผลิตเครื่องรสอาหาร / วัตถุเจือปนอาหาร • การสุขาภิบาลการถนอมอาหาร • การสุขาภิบาลการฆ่าสัตว์เพื่อจำหน่ายอาหาร

  11. ข้อเท็จจริงจากองค์การอนามัยโลกข้อเท็จจริงจากองค์การอนามัยโลก 10 facts on food safety (October 2009) สืบค้น 24 ต.ค.53 จาก: http://www.who.int/features/factfiles/food_safety/en/index.html Food safety is a public health priority; millions of people fall ill every year and many die as a result of eating unsafe food. Serious outbreaks of foodborne disease have been documented on every continent in the past decade, and in many countries rates of illnesses are increasing significantly.

  12. More than 200 • diseases are • spread through food Millions of people fall ill every year and many die as a result of eating unsafe food. Diarrhoeal diseases alone kill an estimated 1.5 million children annually, and most of these illnesses are attributed to contaminated food or water. Proper food preparation can prevent most foodborne diseases.

  13. 2. Foodborne diseases are increasing worldwide Disease-causing organisms in food are transmitted far and wide by today's interconnected global food-chains - escalating how often and where foodborne illnesses occur. Rapid urbanization worldwide is adding to risks, as urban dwellers eat more food prepared outside the home that may not be handled or prepared safely - including fresh foods and fish, meat and poultry.

  14. 3. Food safety is a global concern Globalization of food production and trade increases the likelihood of international incidents involving contaminated food. Imported food products and ingredients are common in most countries. Stronger food safety systems in export countries can reinforce both local and cross-border health security.

  15. 4. Emerging diseases are tied to food production About 75% of the new infectious diseases affecting humans over the past 10 years were caused by bacteria, viruses and other pathogens that started in animals and animal products. Many of these diseases in people are related to the handling of infected domestic and wild animals during food production - in food markets and at slaughter houses.

  16. 5. Minimize the risk of avian influenza The vast majority of H5N1 avian influenza cases in people follow direct contact with infected live or dead birds. There is no evidence that the disease is spread to people by eating properly cooked poultry. To avoid risk of foodborne illnesses in poultry: • separate raw meat from other foods • keep clean and wash your hands • cook thoroughly (until meat is 70 °C in all parts, with no pink areas).

  17. 6. Preventing disease starts at the farm Preventing animal infections at the farm level can reduce foodborne illnesses. For example, reducing the amount of Salmonella in farm chickens by 50% (through better farm management) results in 50% less people getting sick from the bacteria. Salmonella-free chicken herds are becoming more common in some countries.

  18. 7. Chemical hazards can contaminate food Acrylamide, which may cause cancer, is formed from natural ingredients during the cooking of some foods at high temperatures (generally above 120 °C), including fried potato products, baked cereal products and coffee. The food industry is working to find methods to lower exposure to such chemicals. Avoid overcooking when frying, grilling or baking food.

  19. 8. Everyone plays a role in food safety Food contamination can occur at any stage from farm to table. Everyone on the food delivery chain must employ measures to keep food safe-farmer, processor, vendor and consumer. Safety at home is just as vital to prevent disease outbreaks. Women are primary targets for food safety education as they are responsible for household meals in many societies.

  20. 9. School is a place for food safety Educating children on safe food handling behaviors is key to preventing foodborne diseases today and in the future. Integrating food safety lessons into school curricula gives children essential life skills that can help to keep them and their families healthy.

  21. 10. Five keys to food safety WHO and Member States are promoting the benefits of food safety, healthy diets and physical activity. The five keys to safer food are: • keep clean • separate raw and cooked • cook all foods thoroughly • keep food at safe temperatures • use safe water and raw materials.

  22. Key global food safety concerns include: • spread of microbiological hazards (including such bacteria as Salmonella or Escherichia coli, e. coli); • chemical food contaminants; • assessments of new food technologies (such as genetically modified food); and • strong food safety systems in most countries to ensure a safe global food-chain.

  23. พิษภัยในอาหาร ตัวอย่างพิษจาก จุลินทรีย์ (Microorganism) ได้แก่ไวรัสแบคทีเรียยีสต์รา ตัวอย่างเชื้อโรคสำคัญและชนิดอาหารที่มักพบว่าก่อให้เกิดการป่วย 1.Salmonella อาจพบใน เนื้อสัตว์สัตว์ปีกไข่นมดิบ และน้ำ 2. Staphylococcus aureusอาหารที่มีผู้บริโภคแล้วเกิดพิษได้แก่ เนื้อวัวไก่ปลาขนมจีนนมและผลิตภัณฑ์นมจากวัวและแพะที่เป็นโรคเต้านมอักเสบขนมและอาหารที่ใช้มือหยิบจับ 3.Clostridium perfringens อาหารที่มีผู้บริโภคแล้วเกิดพิษได้แก่ เนื้อวัวไก่ปรุงสุกอาหารแห้งเช่นกะปิน้ำพริกต่าง ๆ

  24. 4.Clostridium botulinumได้แก่อาหารที่ผลิตแล้วเก็บในภาชนะอับอากาศเช่นอาหารกระป๋องบางชนิด 5.Vibrio parahaemolyticus  ได้แก่อาหารทะเลดิบ 6.Vibrio cholerae ได้แก่อาหารทั่วไป 7.Bacillus cereus เช่นเต้าเจี้ยวผลิตภัณฑ์แป้งเนื้อสัตว์ซุป ผักสดขนมหวานซอสข้าวสุก และขนมจีน 8.Shigella พบในนมและน้ำ 9.Enteropathogenic Escherichia Coliได้แก่เนยแข็งหมูไก่ และอาหารที่ใช้มือเปื้อนหยิบจับ

  25. สารพิษจากเชื้อรา (mycotoxin) เช่น Aflatoxins เชื้อราที่สร้างสารพิษ ได้แก่ Aspergillus flavus

  26. -บอแรกซ์ (Borax) เป็นพิษต่อเซลล์ สามารถรวมตัวกับคาร์โบไฮเดรต ไกลโคโปรตีน หรือไกลโคไลปิด ซึ่งเป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ทุกชนิด หากมีอาการแพ้จะทำให้ผิวหนังแห้ง มีผื่นตามตัว ผิวหนังเป็นจ้ำ คล้ายห้อเลือด หมดสติและตายได้ -โครเมียม  สารประกอบของโครเมียมใช้ทำสีย้อม  พิษของโครเมียมเป็นอันตรายต่อผิวหนังและปอด -แคดเมียม  มีพิษต่อปอดและไต  ทำให้เกิดโรคอิไต-อิไต -สารหนู  ทำให้เกิดโรคไข้ดำ  มีอาการเจียน  ปวดท้องรุนแรง  เป็นตะคริว

  27. -ดินประสิว Potassium Nitrate มีสูตรเคมี KNO3นิยมใส่ในอาหารประเภทเนื้อหมู   เนื้อปลา  เนื้อวัว ทำเนื้อเปื่อย  สีสวย  รสดี  และเก็บไว้ได้นาน  ซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดสารไนโตรซามีน(nitrosamine) เป็นสารก่อให้เกิดมะเร็ง -ปรอท  พิษของสารปรอทที่ไปสะสมในสมอง   ทำให้ประสาทหลอน  ความจำเสื่อม  เป็นอัมพาต ทารกในครรภ์ประสาทจะถูกทำลาย  นิ้วมือหงิกงอ  ปัญญาอ่อน  และอาจตายได้   อาการเช่นนี้เรียกว่า  โรคมินามาตะ -ตะกั่ว  พิษตะกั่วจะทำลายเซลล์สมอง  ทำลายเม็ดเลือดแดง   ปวดศีรษะและอาจตายได้

  28. สถานที่ปรุง ประกอบ และจำหน่ายอาหารควรจัดให้สะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย จัดให้มีอุปกรณ์ เครื่องใช้ที่จำเป็นอย่างครบถ้วน สะดวกต่อนำมาใช้มีการ ดูแลทำความสะอาดสถานที่อย่างสม่ำเสมอ มีการป้องกันสัตว์แมลงนำโรคต่างๆ ไม่ให้สัมผัสอาหารได้ มีการกำจัดขยะมูลฝอย จัดทำท่อระบายน้ำทิ้งที่เหมาะสมถูกต้องตามหลักวิชาการ มีบ่อดักไขมัน จัดทำห้องส้วม และที่ปัสสาวะให้พอเพียง และรักษาให้สะอาด จัดให้มีการระบายอากาศให้มีการ ไหลเวียนเพียงพอ มีปล่องระบายควัน-กลิ่นจากการประกอบอาหาร

  29. ภาชนะอุปกรณ์การเลือกใช้ภาชนะอุปกรณ์ให้ถูกต้องเหมาะสมกับอาหารแต่ละชนิด เป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องคำนึงถึง เพราะภาชนะอุปกรณ์บางชนิดอาจทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยได้ ถ้านำมาใช้ใส่อาหาร การล้าง การเก็บ และการใช้อย่างถูกวิธี ก็มีส่วนช่วยให้เกิดความปลอดภัยในการบริโภคอาหารด้วย

  30. สุขภาพและสุขปฏิบัติของผู้ประกอบการค้าอาหาร

  31. กฎหมายเกี่ยวข้องกับการสุขาภิบาลอาหารและการคุ้มครองผู้บริโภคกฎหมายเกี่ยวข้องกับการสุขาภิบาลอาหารและการคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายที่สำคัญ เช่น พรบ. การสาธารณสุข 2535 มีหมวดที่ว่าด้วย ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร พรบ. อาหาร พ.ศ.2522 / พรบ. ยา พ.ศ.2510 สำนักงานการคณะกรรมการอาหารและยา อำนาจเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา การขึ้นทะเบียน การนำเข้า การผลิต การโฆษณา ฯลฯ

  32. พรบ. คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 สิทธิของผู้บริโภค ตาม พรบ. คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 (1) สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียงพอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ (2) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ (3) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ (4) สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา (5) สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย

  33. พรบ. คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 การดำเนินคดีแบบกลุ่ม Class Action ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ว่า “Common Fact and Common Law” พรบ. ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดจากสินค้าไม่ปลอดภัย พ.ศ.2551 Product Liability ความรับผิดในผลิตภัณฑ์ Strict Liability ความรับผิดโดยเคร่งครัด

  34. ช่วงต้นคริสตกาลได้พบข้อความในตำราสันสกฤตโบราณซึ่งกล่าวว่า “น้ำที่สะอาดจะต้องเก็บไว้ในถังทองแดง นำไปตากแดด แล้วกรองผ่านชั้นถ่านอีกอีกที” ปี ค.ศ. 400 ฮิปโปเครติส แพทย์ชาวกรีกซึ่งเป็นบิดาแห่งวิชาแพทย์ ได้แนะนำให้ทำการต้ม หรือกรองน้ำเพื่อให้ได้ น้ำที่สะอาดขึ้นก่อนนำมาบริโภค ปี ค.ศ. 1500 ชาวอียิปต์โบราณใช้สารส้มเพื่อตกตะกอนสารแขวนลอยในน้ำ ประวัติการจัดหาน้ำสะอาดเพื่อการอุปโภคบริโภค

  35. ข้อเท็จจริง จาก WHO December 2009 Water scarcity encourages people to transport water long distances and store supplies in their homes. This can increase the risk of household water contamination, causing illnesses. จาก http://www.who.int/features/environmental_health/en/index.html

  36. คุณสมบัติของน้ำ (Properties of water) คุณสมบัติทางชีวภาพเช่น อาจมีการปนเปื้อน “Coli -form Bacteria” คุณสมบัติทางกายภาพ 1.ความขุ่น (Turbidity) 2.สี (Color) 3.กลิ่น (Odor) 4.รส (Taste) 5.อุณหภูมิ (temperature) คุณสมบัติทางเคมี 1. ค่า DO 2. ค่า BOD 3. ค่า COD 4. ค่า pH 5. ความเป็นกรด-ด่าง 7. ความกระด้าง 8.แร่ธาตุอื่นๆ / สารพิษ

  37. มาตรการจัดหาน้ำสะอาด ภาชนะเก็บน้ำฝนประจำครอบครัว เช่น ตุ่มน้ำ และถังเก็บน้ำฝน ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการรองรับน้ำฝน ให้สะอาด ปลอดภัย บ่อน้ำตื้น มีชานบ่อ มีฝาปิดปากบ่อ ที่ตั้งบ่อห่างไกลจากส้วมและมลพิษ ต่าง ๆ บ่อน้ำบาดาล คุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์ดี ระบบประปา เป็นระบบที่น้ำผ่านกระบวนการทำให้สะอาด ปราศจากเชื้อโรคและได้มาตรฐานน้ำดื่ม แล้วจ่ายให้ประชาชนด้วยระบบท่อ

  38. มาตรการตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่ม-น้ำใช้มาตรการตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่ม-น้ำใช้ โดยการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ ด้านกายภาพ เคมี แบคทีเรีย ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ เพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์การปนเปื้อน และกำหนดวิธีการแก้ไข ปรับปรุง ให้น้ำสะอาดปลอดภัย เป็นน้ำดื่ม และน้ำใช้ประจำครัวเรือน ชุมชนเมือง หมู่บ้าน โรงเรียน โรงพยาบาล และศุนย์เด็กเล็ก เป็นต้น

  39. การผลิตน้ำประปา • การผลิตน้ำประปา จะนำน้ำผิวดินจากแหล่งน้ำธรรมชาติ ทะเลสาบ แม่น้ำ ลำคลองต่าง ๆ หรือน้ำใต้ดิน (น้ำบาดาล) • น้ำผิวดินมักมีการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ สารอินทรีย์และอนุภาคต่าง ๆ • น้ำใต้ดิน (น้ำบาดาล) จะมีการปนเปื้อนของสารอินทรีย์ ไอออนของแร่ธาตุต่าง ๆ • ปริมาณการปนเปื้อนของสารต่าง ๆ ในน้ำขึ้นอยู่กับลักษณะทาง ธรณีวิทยา สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศรวมถึงฤดูกาลต่างๆ

  40. การบำบัดน้ำเพื่อผลิตเป็นน้ำประปาการบำบัดน้ำเพื่อผลิตเป็นน้ำประปา การบำบัดน้ำเพื่อผลิตเป็นน้ำประปา มีขั้นตอน ดังนี้ • ขั้นตอนการตกตะกอน น้ำที่ผ่านเข้าสู่ระบบจะได้รับการเติม สารเคมี เช่น สารส้ม (Alum) และทำการกวนน้ำให้ตะกอนจับ ตัวกันเป็น ขนาดใหญ่ขึ้นเรียกว่า “flog” แล้วตกลงสู่ก้นถังตกตะกอน • น้ำที่ผ่านการตกตะกอนแล้ว จะเข้าสู่ถังกรอง ซึ่งมีชั้นกรองทรายและถ่านดักเศษตะกอนเล็ก ๆ และ flog ออก

  41. การบำบัดน้ำเพื่อผลิตเป็นน้ำประปา (ต่อ) 3. น้ำที่ผ่านการกรอง จะได้รับการเติมปูนขาว คลอรีน ฟลูออรีน ฟอสเฟต หรือผ่านรังสี UV หรือโอโซน เพื่อฆ่าเชื้อโรค จุลินทรีย์ต่างๆ ที่ก่อให้เกิดโรค 4. น้ำที่ผ่านกระบวนการทั้งหมด ตั้งแต่ขั้นที่ 1-3 แล้วจะเป็นน้ำสะอาด ซึ่งจะเก็บไว้ในถังพักน้ำสะอาด เพื่อรอการจ่ายออกกระจายสู่แหล่งชุมชนโดยระบบประปา

  42. คลอรีนอิสระตกค้าง (Free Residual Chlorine) สำหรับน้ำ บริโภคที่มีการปรับปรุงคุณภาพ โดยใช้คลอรีนในการฆ่าเชื้อโรคควรที่จะให้มีปริมาณคลอรีนอิสระตกค้างอยู่ใน ระหว่าง 0.2 – 0.5 มก./ลบ.เมตร หรือตามที่หน่วยงานที่รับผิดชอบกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น เช่น น้ำประปาที่มีท่อส่งยาวอาจต้องเติม คลอรีน ให้มีคลอรีนเหลืออยู่ในท่อต้นทางประมาณ 1 มก./ลิตร เพื่อให้ปลายท่อมีคลอรีนไม่น้อยกว่า 0.2 มก./ลิตร หรือกรณีที่เกิดโรคระบาดอาจเติมคลอรีนเป็น 2 เท่าของปกติก็ได้

  43. 10 facts on preventing disease through healthy environments WHO http://www.who.int/features/factfiles/environmental_health/environmental_health_ facts /en/index.html วันที่ 5 ตุลาคม 2553 Fact 1 Worldwide, 13 million deaths could be prevented every year by making our environments healthier.

  44. Fact 2 In children under the age of five, one third of all disease is caused by the environmental factors such as unsafe water and air pollution.

  45. Fact 3 Every year, the lives of four million children under 5 years – mostly in developing countries – could be saved by preventing environmental risks such as unsafe water and polluted air.

  46. Fact 4 In developing countries, the main environmentally caused diseases are diarrhoeal disease, lower respiratory infections, unintentional injuries, and malaria.

  47. Fact 5 Better environmental management could prevent 40% of deaths from malaria, 41% of deaths from lower respiratory infections, and 94% of deaths from diarrhoeal disease – three of the world's biggest childhood killers.

  48. Fact 6 In the least developed countries, one third of death and disease is a direct result of environmental causes.

  49. Fact 7 In developed countries, healthier environments could significantly reduce the incidence of cancers, cardiovascular diseases, asthma, lower respiratory infections, musculoskeletal diseases, road traffic injuries, poisonings, and drownings.

More Related