450 likes | 1.56k Views
งานสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลศิริราช. หัวข้อการนำเสนอ. วิสัยทัศน์ พันธกิจ ผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา แผนพัฒนางาน ตัวชี้วัด. วิสัยทัศน์. จะเป็นเครือข่ายการให้บริการสังคมสงเคราะห์ระดับประเทศ. หน้าที่และเป้าหมาย.
E N D
งานสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลศิริราช
หัวข้อการนำเสนอ • วิสัยทัศน์ • พันธกิจ • ผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา • แผนพัฒนางาน • ตัวชี้วัด
วิสัยทัศน์ จะเป็นเครือข่ายการให้บริการสังคมสงเคราะห์ระดับประเทศ
หน้าที่และเป้าหมาย 1. ให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม อารมณ์ และจิตใจ เพื่อให้ปัญหาคลี่คลาย 2. เยี่ยมบ้าน 2.1 ประเมิน สภาพครอบครัว และสภาพแวดล้อม 2.2 ประสาน และติดตาม ดูแลผู้ป่วย 2.3 ติดตามหาญาติผู้ป่วย 2.4 เตรียมความพร้อมสำหรับการจำหน่ายผู้ปวย 4
หน้าที่และเป้าหมาย (ต่อ) 3. ให้ความรู้ คำแนะนำ ในเรื่องต่างๆ 4. เข้าร่วมทีมสหวิชาชีพ ในการดูแลผู้ป่วย 5. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยประสานเครือข่ายทั้งของรัฐและเอกชน เพื่อให้เกิดการต่อเนื่องในการติดตามช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย 5
ประเด็นคุณภาพ 1. สนับสนุนช่วยเหลือผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษาของแพทย์ 2. เชื่อมความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว 3. ให้บริการด้วยความรวดเร็วทันเวลา 4. ผู้ป่วยได้รับความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม 5. ผู้ป่วยได้รับการจำหน่ายได้ตามเวลาที่กำหนด 6
โครงสร้างงาน ผู้อำนวยการโรงพยาบาล งานสังคมสงเคราะห์ หน่วยธุรการ หน่วยประเมิน หน่วยสงเคราะห์และพัฒนาเครือข่าย ประเมิน วางแผน การช่วยเหลือ เตรียมพร้อม การจำหน่าย ลดหย่อน ประสาน เครือข่าย กลุ่มวิชาการ
ผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา
สถิติการช่วยเหลือ ปัญหาด้านอื่นๆ
จำนวนผู้ป่วยที่ขอรับการลดหย่อน (2549-2555) ผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา
ค่ารักษาพยาบาลที่ให้การช่วยเหลือค่ารักษาพยาบาลที่ให้การช่วยเหลือ
การดำเนินงานตามจุดเน้นฯการดำเนินงานตามจุดเน้นฯ • Patient Safety ( การระบุตัวบุคคล ) * ค้นหาหลักฐานผู้ป่วย - การคัดสำเนาบัตรประชาชน / ติดตามญาติ /ประสานองค์การบริหารส่วนตำบล - เทศบาล /สถานีอนามัยชุมชน หรือโรงพยาบาลชุมชน - เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้สิทธิการรักษาได้ ปี 53 มี จำนวนผู้ป่วยค้นหาหลักฐาน 559 ราย
Area of Excellence - มีคู่มือการปฏิบัติงาน 6 เรื่องที่ได้รับการขึ้นทะเบียน - เป็นสถานที่ดูงานของหน่วยงานอื่นๆ และฝึกงาน ของนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ มหาวิทยาลัย หัวเฉียวทุกปี - มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในหน่วยงานทุกวันจันทร์ (AAR) - โครงการ งานวิจัยสู่งานประจำ - COP (ชุมชนนักปฏิบัติ เรื่อง ผู้ป่วยขาดหลักฐานเอกสารแสดงตน)
Effective Communication - ระบบการรายงานผู้ป่วย - ระบบติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอกเพื่อการช่วยเหลือผู้ป่วย - ทำงานร่วมกับทีม R.M. ของโรงพยาบาล และภาควิชา - ประชุมในหน่วยงาน เพื่อสื่อสารนโยบายของผู้บริหารสู่ผู้ปฏิบัติ
- บุคลากรได้รับการตรวจร่างกายและฉีดวัคซีนประจำปี 100% พบว่า มีค่า BMI สูง 7 คน เป็นโรคความดันโลหิตสูง 3คน - จัดโครงการออกกำลังกาย ที่ fitness center สำหรับบุคลากรที่มี ค่า BMI สูง - ให้ความรู้บุคลากร เรื่อง หลักโภชนาการ - รณรงค์เรื่องการล้างมือ ก่อนขึ้น และลงจาก หอผู้ป่วย • Health Promotion
Increasing customer satisfaction พัฒนางาน - ทำงานเชิงรุก - เพิ่มรอบการประเมินผู้ป่วยที่ห้องแพทย์เวร และ observe เป็นวันละ 2 รอบ เพื่อการจำหน่ายผู้ป่วยให้ทันเวลา - ทำงานเป็นทีมสหวิชาชีพเพื่อการดูแลผู้ป่วย - อยู่เวรนอกเวลาราชการ
การพัฒนา • บุคลากร 1. ส่งบุคลากรเข้าอบรม ในหลักสูตรผู้ทำหน้าที่ นักสังคมสงเคราะห์ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา(การสืบพยานเด็ก) ของสถาบันการพัฒนาสังคม จังหวัดปทุมธานี 3 รุ่น 7 คน เริ่มปี 2553 2. ส่งอบรมเรื่องการให้คำปรึกษาในภาวะวิกฤตในบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ ที่มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช 3 คน 3. เข้าร่วมประชุมภายนอกหน่วยงาน โรงพยาบาลอื่นๆ หรือสมาคมนักสังคมสงเคราะห์ ปีละ 3 ครั้ง 4. จัดสัมมนาในหน่วยงาน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ปีละ 1 ครั้ง
ระบบการทำงาน - สร้างเครือข่ายเพื่อช่วยการปฏิบัติงาน ได้แก่ อ.บ.ตอ.บ.จ เทศบาล NGO หน่วยงานของรัฐ - นักสังคมสงเคราะห์ เข้าร่วมทีมสหวิชาชีพ เพื่อการดูแลผู้ป่วยของภาควิชา ได้แก่ อายุรศาสตร์ ศัลยฯ ออร์โธปิดิกส์ จักษุ กุมาร สูติ-นรีเวช - การชี้นำสังคม จัด โครงการพัฒนาศักยภาพเยาวชนจิตอาสาเพื่อป้องกันอุบัติภัยบนท้องถนน พิษภัยของบุหรี่ เพศศึกษากับการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร - จัดเก็บข้อมูล ผู้ป่วยด้วย E-File เพื่อลดพื้นที่การจัดเก็บเอกสาร
โครงการที่ยังดำเนินการอยู่โครงการที่ยังดำเนินการอยู่ 1. โครงการแม่เยาว์วัย 2. โครงการพัฒนาศักยภาพเยาวชนจิตอาสา 3. การทำงานร่วมทีมสหวิชาชีพ 4. โครงการอบรมพี่เลี้ยงผู้พิการ 5. โครงการเตรียมความพร้อมค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยก่อนผ่าตัด 6. โครงการเยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ 7. โครงการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
โครงการต่อยอด 1. จัดตั้ง COP เรื่องวิธีการช่วยผู้ป่วยขาดหลักฐานเอกสารแสดงตน 2. ทำ R2R - ผลของระบบการให้การช่วยเหลือแม่วัยเยาว์และการติดตามผลโดยทีมสหวิชาชีพ - เรื่องการศึกษาเปรียบเทียบขั้นตอนการเข้าถึงข้อมูลของผู้ป่วยที่ขาดเอกสาร
แผนที่จะพัฒนา • ให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุคลากร เรื่อง Lean และ R2R • จัดเก็บตัวชี้วัดเรื่องความคุ้มค่าเพิ่ม -จำนวนเงินก่อนที่จะได้หลักฐานเพื่อการใช้สิทธิ
ความสำเร็จในการติดตามญาติความสำเร็จในการติดตามญาติ ครอบครัวนายหาญ จ.เลย ครอบครัวนายสุรินทร์ จ.กาญจนบุรี
สัมมนา เรื่อง KM ณ.ไร่กุสุมา จังหวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 26-27 มีนาคม2554
สถานที่ดูงาน/สถานที่ฝึกงานสถานที่ดูงาน/สถานที่ฝึกงาน ดูงาน ฝึกงาน
COPเรื่องการดำเนินการกับผู้ป่วยไม่เอกสาร/หลักฐานแสดงตนCOPเรื่องการดำเนินการกับผู้ป่วยไม่เอกสาร/หลักฐานแสดงตน เรื่องการดำเนินการกับผู้ป่วยไม่เอกสาร/หลักฐานแสดงตน
R2R • ประชุมร่วมกับ • อ.จ.อัครินทร์ ประมาณ 12 ครั้ง
วัตถุประสงค์ • ศึกษาปัญหาของมารดาที่อายุต่ำกว่า 18 ปี • ลดปัญหาการละทิ้งบุตร • ประสานคนในครอบครัวให้เกิดการยอมรับ • ให้ความรู้และความเข้าใจแก่แม่เยาว์วัย -ในการวางแผนครอบครัว -ลดปัญหาการตั้งครรภ์ซ้ำ
วัตถุประสงค์ • เพื่อประเมินสภาพครอบครัว และสิ่งแวดล้อม พร้อมให้กำลังใจ • เพื่อติดตามหาญาติ • เพื่อเตรียมความพร้อมใน การจำหน่าย
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประเมิน และติดตามญาติได้เร็วขึ้น 2. เพื่อจำหน่ายผู้ป่วยออกได้ตามเวลาที่กำหนด 3. เพื่อตรวจสอบหาหลักฐานให้ผู้ป่วยได้ใช้สิทธิในการรักษา 4. เพื่อลดความแออัดของหน่วยตรวจ และหอผู้ป่วยสังเกตอาการ
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างจิตสำนึกในการเป็น ผู้ใช้รถใช้ถนนและเข้าใจระเบียบ วินัยการจราจร 2. เพื่อเรียนรู้เรื่องภัยอันตรายบน ท้องถนน การป้อง ตนเอง 3.เพื่อให้เกิดการเรียนรู้โทษภัย ของการสูบบุหรี่
โครงการพัฒนาศักยภาพเยาวชนเรื่องการป้องกันอุบัติภัยบนถ้องถนนโครงการพัฒนาศักยภาพเยาวชนเรื่องการป้องกันอุบัติภัยบนถ้องถนน ครั้งที่ 1 ครั้งที่2
โครงการพัฒนาศักยภาพเยาวชนเรื่องการป้องกันอุบัติภัยบนถ้องถนนโครงการพัฒนาศักยภาพเยาวชนเรื่องการป้องกันอุบัติภัยบนถ้องถนน ครั้งที่ 1 ครั้งที่2
ทีมPalliative บทบาท ของนักสังคมสงเคราะห์ - เป็นผู้ติดต่อประสานเรือนจำพิเศษธนบุรี เพื่อให้มารดา และบุตรได้พบกัน ซึ่งเป็นความปรารถนาครั้งสุดท้ายของผู้ป่วย