1 / 28

Open Access แหล่งสารสนเทศแบบเสรี

อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ ลุน. Open Access แหล่งสารสนเทศแบบเสรี. Open Access. ความหมาย แหล่งสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเข้าถึงได้ฟรี ไม่มีการจำกัดสิทธิในการเข้าถึงในระบบออนไลน์. การเกิดขึ้นของ Open Access.

Download Presentation

Open Access แหล่งสารสนเทศแบบเสรี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน Open Accessแหล่งสารสนเทศแบบเสรี

  2. Open Access ความหมาย • แหล่งสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเข้าถึงได้ฟรี ไม่มีการจำกัดสิทธิในการเข้าถึงในระบบออนไลน์

  3. การเกิดขึ้นของ Open Access • ความต้องการเผยแพร่งานวิจัย หรือบทความทางวิชาการของนักวิจัย และนักวิชาการ เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับตัวนักวิจัยเอง โดยสามารถลดค่าใช้จ่ายในการจัดพิมพ์ และเพิ่มโอกาสในการเข้าถึง เนื่องจากสามารถจัดทำเผยแพร่ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต • ปัญหาด้านราคาการจัดพิมพ์ และการจัดจำหน่าย • ปัญหาการเข้าถึงสารสนเทศ หรือแหล่งสารสนเทศ

  4. ลักษณะของ Open Access • จดหมายเหตุหรือสิ่งพิมพ์รับฝาก • ไม่มีผู้เชี่ยวชาญอ่าน หรือ no peer review • ความหลากหลายของสาขาวิชา • เนื้อหาที่เผยแพร่มีทั้งที่เคยเผยแพร่แล้วหรือยังไม่ได้เผยแพร่ • จัดทำหรือเผยแพร่ผ่านโอเพนซอร์ส • ใช้ง่ายไม่มีค่าใช้จ่าย

  5. ลักษณะของ Open Access • วารสาร • มีผู้เชี่ยวชาญอ่านบทความ • บทความเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ยาก • อื่นๆ • บล็อก กลุ่มข่าว บอร์ด หรือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

  6. ตัวอย่างของ Open Access ในยุคเริ่มต้น • Open Archives Initiative • Budapest Open Access Initiative • Public Library of Science • BioMed Central • SPARC • Dspace • Bethesda droup • HINARI • Creative Commons

  7. ข้อดีของ Open Access • ผู้แต่งเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และมีค่าความน่าเชื่อถือสูง • ผู้อ่านหรือผู้ใช้เข้าถึงงานที่ต้องการได้ง่าย • ในแวดวงการเรียนการสอนมีความเท่าเทียมกันในการใช้ • สถาบันบริการสารสนเทศแก้ไขปัญหาด้านราคาวารสาร และปัญหาด้านลิขสิทธิ์ได้ • ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้าถึงวรรณกรรมทางวิทยาศาสตร์ได้ และสามารถเผยแพร่ได้ด้วยตนเอง • ในอนาคตการเผยแพร่สารสนเทศแบบเสรีจะมีเพิ่มมากขึ้นผ่านระบบโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์

  8. เทคโนโลยีพื้นฐานสำหรับ OA • อินเทอร์เน็ต และเทคโนโลยีเครือข่าย

  9. ข้อกฎหมายเบื้องต้นของ OA • การกำหนดกฎเกณฑ์สำหรับการเข้าถึง เช่น การกำหนดลิขสิทธิ์สำหรับงานที่มีลิขสิทธิ์บางรายการ • งานบางรายการอาจจะไม่จำเป็นต้องกำหนดลิขสิทธิ์หรือการออกใบอนุญาต

  10. ประเภทวารสารใน Open Access • วารสารทั่วไป • วารสารเฉพาะสาขาวิชา • วารสารท้องถิ่นหรือวารสารเฉพาะพื้นที่ • วารสารสถาบัน • วารสารรายปี หรือรายงานประจำปี

  11. ประเภทของ Open Access • OA Publishing ('Gold' OA) ผู้เขียนบทความ แหล่งเงินทุนหรือ สถาบันต้นสังกัด เป็นผู้จ่ายค่าตีพิมพ์ (Author-pays) ให้แก่ OA Publishers และอนุญาตให้นำบทความไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตได้ ตัวอย่างของสำนักพิมพ์ OA ได้แก่ • Hindawi Publishing (1997) • BioMed Central (2001) • Public Library of Science - PLoS (2003)

  12. ประเภทของ Open Access • OA Self-archiving ('green' OA) ตีพิมพ์ในวารสารของสำนักพิมพ์ทั่วไป แต่ผู้เขียนมีสิทธิ์นำ บทความมาจัดเก็บไว้ใน author's homepage หรือ institutional repository เพื่อนำไปเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตต่อได้ แหล่งเก็บประเภท Open Access Archives (OAA) ตัวอย่างเช่น PubMed Central (1999)

  13. ประเภทของ Open Access • Truly OA Journals • ให้ใช้บทความออนไลน์ได้ฟรี ทันทีที่ตีพิมพ์ • ให้ผู้เขียนบทความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ • ให้เผยแพร่บทความออนไลน์ได้โดยไม่มีขีดจำกัด • OA Journals มีความหมายตรงข้ามกับ Subscription-based Journals

  14. ประเภทของ Open Access • Delay Open Access • ให้ใช้บทความออนไลน์ได้ฟรีเฉพาะฉบับย้อนหลัง (free back issues) หลังจากตีพิมพ์ไปแล้ว 1-6 เดือน หรือ 1 ปี เป็นต้น • ตัวอย่างเช่น วารสารในกลุ่มของ HighWire Press

  15. ประเภทของ Open Access • Dual-mode Open Access • วารสารชื่อเดียวกัน มีทั้ง print subscription และ OA edition

  16. ประเภทของ Open Access • Hybrid Open Access (Author-choice OA) • ภายในวารสารฉบับเดียวกัน มีทั้งบทความ OA และ non-OA • Partial Open Access • OA เฉพาะบางบทความ (มักเป็นการโฆษณาของสำนักพิมพ์)

  17. ประเภทของ Open Access • Low-income Open Access • OA เฉพาะประเทศในกลุ่ม low-income economies โดยให้บริการวารสารผ่านโครงการช่วยเหลือต่างๆ เช่น • Hinari(Health InterNetwork Access to Research Initiative) • AGORA (Access to Global Online Research in Agriculture)

  18. ตัวอย่างOpen Access • OA Publishers • Public Library of Science (PloS) www.plos.org • Hindawi Publishing Cop. www.hindawi.com • OA Journal Resources • Directory of Open Access Journals (DOAJ) www.doaj.org • Open J-Gate (Informatics India Ltd.) www.openj-gate.com • Japan Science and Technology Information Aggregator, Electronic (J-Stage) www.jstage.jst.go.jp • Scientific Electronic Library Online (SciELO), Brazil www.scielo.br

  19. ตัวอย่างOpen Access • OA Journal Resources • Free Full Text www.freefulltext.com • Free Medical Journals www.freemedicaljournals.com • HighWire Press. highwire.stanford.edu • Free Indexes • Google Scholar scholar.google.com • Windows Live Search Academic academic.live.com • Scirus www.scirus.com • PubMed www.pubmed.gov

  20. Open Access ต่างประเทศ

  21. Open Access ของไทย

More Related