1 / 42

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ในราชอาณาจักร

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ในราชอาณาจักร. โดย นางอนงค์น้อย หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักงานคลังจังหวัดตราด . การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร.

hao
Download Presentation

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ในราชอาณาจักร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักรค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร โดย นางอนงค์น้อย หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ สำนักงานคลังจังหวัดตราด

  2. การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักรการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร ประเด็นสำคัญ1. เจตนารมย์2 . สิทธิในการเบิกค่าใช้จ่าย*บุคคลที่มีสิทธิ * ลักษณะการเดินทาง* รายการค่าใช้จ่าย * วิธีการเบิก

  3. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 1. พรฎ. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 (แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 8 พ.ศ.2553) 2. ระเบียบ ก.การคลัง ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2554 3. หลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัด เงินชดเชย และค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่ายเนื่องใน การเดินทางไปราชการ (ว.42 ลว.26 ก.ค.50)

  4. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง(ต่อ)กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง(ต่อ) 4. ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าด้วยการอนุมัติให้ เดินทางไปราชการและการจัดประชุม พ.ศ.25245. ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษา และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551

  5. 1. อนุมัติให้เดินทาง2. ยืมเงินราชการ3. เดินทาง4. อนุมัติเบิกค่าใช้จ่าย ขั้นตอนการใช้สิทธิ

  6. บุคคลผู้มีสิทธิ 1. ข้าราชการ 8 ประเภท2. ข้าราชการประเภทอื่น3. ลูกจ้าง 4. พนักงานราชการ5. บุคคลภายนอก

  7. ลูกจ้าง * จ้างจากเงินงบประมาณ* ยกเว้นชาวต่างประเทศที่มีสัญญาจ้าง * เทียบตำแหน่ง หมวดลูกจ้าง เทียบเท่าระดับแรงงาน/กึ่งฝีมือ 1ฝีมือ / ฝีมือพิเศษระดับต้น 2ฝีมือพิเศษระดับกลาง/สูง/เฉพาะ 3 ปัจจุบันไม่มีผลกับเบี้ยเลี้ยง เพราะใช้อัตราเดียวกันตั้งแต่ ซี 1 - 8

  8. การเทียบตำแหน่งพนักงานราชการการเทียบตำแหน่งพนักงานราชการ กลุ่มงานบริการและกลุ่มงานเทคนิค เทียบเท่า ประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน กลุ่มงานบริหารทั่วไป (เริ่มรับ – 9 ปี) ”ประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ (10 – 17 ปี ) ” ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ ( 17 ปี ขึ้นไป ) ”ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ กลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ (เริ่มรับ – 9 ปี) เทียบเท่า ประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ (10 – 17 ปี ) ”ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ ( 17 ปี ขึ้นไป) ”ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ ผู้ได้รับค่าตอบแทนในอัตราสูงสุดของบัญชีอัตราค่าตอบแทน เทียบเท่า วิชาการระดับเชี่ยวชาญ

  9. การเทียบตำแหน่ง (ต่อ) กลุ่มงานเชี่ยวชาญเฉพาะ (เริ่มรับ – 4 ปี) เทียบเท่า ประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ (5 – 10 ปี) ”ประเภทวิชาการระดับชำนาญการ (10 ปี ขึ้น) ” ประเภทวิชาการระดับชำนาญการพิเศษ ผู้ที่ได้รับค่าตอบแทนในอัตราสูงสุดของบัญชีอัตราค่าตอบแทน เทียบเท่า วิชาการระดับเชี่ยวชาญ กลุ่มงานเชี่ยวชาญพิเศษ เทียบเท่า ประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ

  10. บุคคลภายนอก หลัก ขอตกลงกับกระทรวงการคลัง เพื่อเทียบตำแหน่งข้อยกเว้นไม่ต้องขอตกลงในกรณีที่* เบิกเท่ากับระดับ 1* ผู้เคยรับราชการ (เบิกให้ตามระดับตำแหน่ง สุดท้ายก่อนออก) * เบิกในระดับไม่สูงกว่าที่กระทรวงการคลัง เคยเทียบ

  11. การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักรการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร * ไปราชการชั่วคราว* ไปราชการประจำ* กลับภูมิลำเนา

  12. ลักษณะการเดินทาง ชั่วคราว* ระยะเวลาสั้น มีกำหนดแน่นอน* เนื้องานเสร็จสิ้น เมื่อครบกำหนดระยะเวลาประจำ* มีอัตราครอง ณ สำนักงานแห่งใหม่* บรรจุตามอัตราครองนั้น* ปฏิบัติงานตามที่ได้รับบรรจุ

  13. ลักษณะการเดินทาง (ต่อ) ลักษณะประจำ (ว 110)* เจตนาให้ไปอยู่นาน/ตลอดไป* ไม่มีอัตราว่าง* ลักษณะงานไม่สิ้นสุด/มีระยะเวลานาน

  14. เดินทางในประเทศ ไปราชการชั่วคราว1. นอกที่ตั้งสำนักงาน2. สอบคัดเลือก/รับการคัดเลือก3. ไปช่วยราชการ/รักษาการในตำแหน่ง /รักษาราชการแทน4. ข้าราชการประจำต่างประเทศระหว่างอยู่ในประเทศ5. เดินทางข้ามแดนชั่วคราว6. กรณีพิเศษ

  15. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางชั่วคราวค่าใช้จ่ายในการเดินทางชั่วคราว 1. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง2. ค่าเช่าที่พัก3. ค่าพาหนะ4. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่าย เนื่องในการเดิน ทางไปราชการ

  16. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง ประเภท ก* ข้ามเขตจังหวัด* จากอำเภออื่นไปอำเภอเมือง ในจังหวัดเดียวกันประเภท ข* ไปต่างอำเภอ ในจังหวัดเดียวกัน ยกเว้น อำเภอเมือง* ในอำเภอที่ตั้งสำนักงาน* ใน กทม. ที่ตั้งสำนักงาน ยกเลิก

  17. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง( บัญชีหมายเลข 2 ) ข้าราชการอัตรา (บาท : วัน : คน) ระดับ 8 ลงมา 240.- ระดับ 9 ขึ้นไป 270.-

  18. การนับเวลา • ตั้งแต่ออกจากที่อยู่ หรือที่ทำงานปกติจน กลับถึงที่อยู่หรือทำงานปกติ* นับ 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน • กรณีไม่มีการพักแรม เกิน 6 ชม.นับเป็น • ครึ่งวัน

  19. 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 วิธีคำนวณ ไปราชการ ตั้งแต่วันที่ 2 - 5 ก.พ. 54 ออกเดินทางตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ. 54 4 วัน 14 ช.ม. = 5 วัน ตาม พรฏ.ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ปี 2553 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 วันออกเดินทาง จากที่พัก 09.00 น. วันเดินทางกลับ ถึงที่พัก 23.00 น. 5 วัน x อัตราเบี้ยเลี้ยงตามสิทธิ ซี 1-8 วันละ 240 = 1,200 บาท

  20. 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 ตัวอย่างโครงการจัดอบรมวันที่ 2 - 5 พ.ย. 2553 เปรียบเทียบ 4 วัน 14 ช.ม. = 5 วัน ตามระเบียบฝึกอบรม ฯ ปี 2552 วันออกเดินทาง จากที่พัก 09.00 น. วันเดินทางกลับ ถึงที่พัก 23.00 น. 5 วัน x เบี้ยเลี้ยงซี 1 – 8 วันละ 240 = 1,200 ผู้จัดเลี้ยงอาหารกลางวัน 4 วัน (4 มื้อ x80 บาท) = 320 รวมเบิกเบี้ยเลี้ยง = 880

  21. หลักเกณฑ์การเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทางหลักเกณฑ์การเบิกเบี้ยเลี้ยงเดินทาง • เกิน 120 วัน : ขออนุมัติปลัดกระทรวง* งดเบิกเบี้ยเลี้ยงประจำ* กรณีเจ็บป่วยระหว่างเดินทาง • เบิกเบี้ยเลี้ยงได้ไม่เกิน 10 วัน

  22. ค่าเช่าที่พัก( บัญชีหมายเลข 3 ) หลักเกณฑ์* จำเป็นต้องพักแรม* จ่ายจริง* ไม่ต้องห้ามตาม ก.ม. / หลักเกณฑ์ข้อห้าม* พักในยานพาหนะ* ทางราชการจัดที่พักให้* พักบ้านตนเอง / คู่สมรส / ญาติพี่น้อง

  23. ข้าราชการเหมาจ่ายจ่ายจริงข้าราชการเหมาจ่ายจ่ายจริง พักคนเดียวพักคู่ระดับ 1-8 ไม่เกิน 800.-1,500 .- 850.-ระดับ 9 ไม่เกิน 1,200.-2,200.- 1,200.-ระดับ 10 ขึ้นไป ไม่เกิน 1,200.-2,500.- 1,400.- อัตราค่าเช่าที่พัก ตาม พรฏ.ค่าใช้จ่ายเดินทางฯ ปี 2553 กรณีเดินทางเป็นหมู่คณะ ต้องเลือกเหมือนกันทั้งคณะ และ ตลอดการเดินทาง

  24. ระดับการฝึกอบรม ห้องพักเดี่ยว ห้องพักคู่ 1. การฝึกอบรมประเภท ข. (ระดับต้น /ระดับกลาง/ บุคคลภายนอก ) 2. การฝึกอบรมประเภท ก. (ระดับสูง) ไม่เกิน 1,200 ไม่เกิน 2,000 ไม่เกิน 750 ไม่เกิน 1,100 เปรียบเทียบ อัตราค่าเช่าที่พักในการฝึกอบรมในประเทศ (บาท : วัน : คน) ตามระเบียบฝึกอบรม ฯ ปี 2552

  25. ค่าพาหนะ * ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ* ค่าเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก* ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของ ของผู้เดินทางนิยามยานพาหนะประจำทาง* บริการทั่วไปประจำ* เส้นทางแน่นอน* ค่าโดยสาร ค่าระวางแน่นอน

  26. หลักเกณฑ์ค่าพาหนะรับจ้าง ( taxi ) 1. ไม่มีพาหนะประจำทาง2. มีพาหนะประจำทางแต่มีเหตุจำเป็นและต้องชี้แจง3. ระดับ 5 ลงมา กรณีมีสัมภาระเดินทาง

  27. หลักเกณฑ์ค่าพาหนะรับจ้าง (TAXI) ต่อ 4. ระดับ 6 ขึ้นไป* ไป-กลับระหว่างที่พัก หรือที่ทำงานกับสถานี /สถานที่จัดพาหนะ * ไป-กลับระหว่างที่พักกับที่ทำงานชั่วคราว (ยกเว้นการสอบคัดเลือก) * ไปราชการในเขต กทม.

  28. พาหนะส่วนตัว • ต้องได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาก่อนเดินทาง* เบิกเงินชดเชย - รถยนต์ กม. ละ 4 บาท - รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท

  29. เครื่องบิน 1. ระดับ 6 ขึ้นไป * ชั้นประหยัด ระดับ 9 ขึ้นไป * ชั้นธุรกิจ ระดับ 10 ขึ้นไป * ชั้นหนึ่ง 2. ระดับ 5 ลงมากรณีมีความจำเป็นเร่งด่วน * ชั้นประหยัด3. ไม่เข้าหลักเกณฑ์ 1 และ 2 ให้เบิกได้เทียบเท่า ภาคพื้นดิน

  30. การเดินทางไปราชการประจำการเดินทางไปราชการประจำ สิทธิในการเบิก* ตนเอง* บุคคลในครอบครัว- คู่สมรส - บุตร - บิดามารดา (ของตนเอง + คู่สมรส) - ผู้ติดตาม

  31. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปประจำค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปประจำ 1. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง (บัญชีหมายเลข 2)2. ค่าเช่าที่พัก (บัญชีหมายเลข 3)3. ค่าพาหนะ4. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่าย5. ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว (บัญชีหมายเลข 4)

  32. ค่าเช่าที่พักในท้องที่ประจำแห่งใหม่ค่าเช่าที่พักในท้องที่ประจำแห่งใหม่ * กรณีไม่อาจเข้าบ้านพัก / บ้านเช่า* เบิกได้ไม่เกิน 7 วัน (เกินตกลงก.การคลัง)* ได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา

  33. ค่าเช่าที่พักในท้องที่ประจำแห่งใหม่ (ต่อ) * กรณีโอนย้ายต่างสังกัด- สังกัดเดิมอนุมัติ - สังกัดใหม่รับรองข้อเท็จจริง* ไม่ใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้าน

  34. ค่าพาหนะ 1. ตนเอง2. บุคคลในครอบครัว* เดินทางพร้อมผู้มีสิทธิ- เบิกอัตราเดียวกับผู้มีสิทธิ - ผู้ติดตามเบิกเท่าระดับต่ำสุด

  35. ค่าพาหนะ (ต่อ) * ไม่ไปพร้อมผู้มีสิทธิ - ชี้แจงเหตุผล - ขออนุมัติก่อนเดินทาง - ผลัดเดินทางไม่เกิน 1ปี

  36. ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัวค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว อัตราเหมาจ่ายกำหนดตาม * ระยะทางระยะทาง* ที่อยู่เดิม - ที่อยู่ใหม่ (ท้องที่ สนง.ใหม่) จ่ายเท่ากันทุกระดับ

  37. ระยะทาง (ต่อ) * คำนวณระยะทางตาม- ทางหลวงแผ่นดิน - ทางหลวงจังหวัด - ทางสาธารณะประจำท้องถิ่น

  38. เดินทางกลับภูมิลำเนา ภูมิลำเนาเดิม* ท้องที่เริ่มรับราชการ, กลับเข้ารับราชการใหม่* กรณีพิเศษ - ท้องที่อื่นซึ่งมิใช้ภูมิลำเนาแต่มีค่าใช้จ่ายไม่สูงกว่า* อธิบดี / ผู้ว่าราชการจังหวัดอนุมัติ

  39. ค่าใช้จ่ายเดินทางกลับภูมิลำเนาค่าใช้จ่ายเดินทางกลับภูมิลำเนา 1. ค่าเช่าที่พัก 2. ค่าพาหนะ 3. ค่าขนย้ายสิ่งของส่วนตัว (ตามบัญชีหมายเลข 4)

  40. สิทธิในการเบิก * ออกจากราชการ , เลิกจ้าง* ตาย* ถูกสั่งพักราชการโดยไม่รอผลสอบสวน* ใช้สิทธิเบิกไปท้องที่อื่น* เดินทางและขนย้ายภายใน 180 วัน นับแต่ออก , เลิกจ้าง , ตาย (ถ้าเกินตกลง กค.)

  41. ค้นหาข้อมูลด้านระเบียบกฎหมายค้นหาข้อมูลด้านระเบียบกฎหมาย ได้จาก เว็บไซต์สำนักงานคลังจังหวัดตราด http://klang.cgd.go.th/trt

  42. http://klang.cgd.go.th/trt “ข่าวสารน่ารู้”

More Related