1 / 18

MOLYBDENUM

MOLYBDENUM. ข้อมูลทั่วไป

haile
Download Presentation

MOLYBDENUM

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. MOLYBDENUM

  2. ข้อมูลทั่วไป โมลิบดินัมเป็นธาตุจำเป็นเล็กน้อยในพืชและสัตว์ เชื่อว่ามีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับสรีรวิทยาของมนุษย์ โมลิบดินัมทำหน้าที่ร่วมกับเอนไซม์หลายชนิดซึ่งมีความสำคัญในการเปลี่ยนสารทางเคมีในวงจรของ carbon, nitrogen และsulfer ดังนั้นเอนไซม์อิสระของโมลิบดินัมจึงไม่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์แต่มีผลต่อสภาพของระบบที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม

  3. หน้าที่ของโมลิบดินัม โมลิบดินัมจะปรากฏออกมาในรูปของสารประกอบเอนไซม์ ซึ่งเป็นองค์ประกอบของโมเลกุลในร่างกายหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าปัจจัยร่วมของโมลิบดินัมและในร่างกายของมนุษย์นั้นโมลิบดินัมทำหน้าที่เป็นปัจจัยร่วมของเอนไซม์ 3 ชนิดคือ • sulfite oxidase กระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากsulfite ไปเป็นsulfateปฏิกิริยาดังกล่าวมีความจำเป็นต่อกระบวนการเผาผลาญสารให้อยู่ในรูปกรดอะมิโน เช่น cysteine

  4. 2. xanthine oxidaseกระตุ้นการแตกตัวของ nucleotides ( DNA และ RNA) ให้อยู่ในรูปกรดยูริกและช่วยจำกัดปริมาณเลือดที่เพิ่มขึ้น 3. aldehyde oxidaseจะทำงานร่วมกับ xanthine oxidaseในการกระตุ้นปฏิกิริยาของไฮโดรเจนและออกซิเจนที่มีความเกี่ยวข้องกับโมเลกุลหลายชนิดที่มีลักษณะโครงสร้างคล้ายกัน นอกจากนี้สารทั้ง 2 ชนิดนี้ยังมีบทบาทในการเผาผลาญยาและสารพิษต่างๆ ในเอนไซม์ทั้ง 3 ประเภทนี้เฉพาะ sulfile oxidaseเท่านั้นที่เป็นสารที่จำเป็นต่อร่างกายมนุษย์ 4. เกี่ยวข้องกับการทำงานของเอนไซม์ที่ควบคุมการใช้ออกซิเจนและการเผาผลาญอาหารพวกไลปิด

  5. ประโยชน์ของโมลิบดินัมประโยชน์ของโมลิบดินัม • ต่อต้านการเกิดมะเร็ง • ป้องกันโรคโลหิตจาง • ป้องกันและยับยั้งการผิดรูปของฟัน • ช่วยในกรณีการเสื่อมสรรถภาพทางเพศ • กำจัดสารพิษและเปลี่ยนโปรตีนไปเป็นกรดยูริก

  6. แหล่งของโมลิบดินัม • พืชผักตระกูลถั่ว เช่น ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา เป็นต้น (เป็นแหล่งที่มีโมลิบดินัมมากที่สุด) • เนื้อสัตว์ พืชตระกูลข้าว

  7. ผลไม้ ,ผัก(มีโมลิบดินัมปริมาณน้อย),นม • ขนมปัง ,ธัญพืช, เครื่องในสัตว์

  8. ความต้องการของร่างกายความต้องการของร่างกาย

  9. สารอาหารที่ทำหน้าที่ร่วมกับโมลิบดินัมสารอาหารที่ทำหน้าที่ร่วมกับโมลิบดินัม ทองแดง (copper) การบริโภคโมลิบดินัมในปริมาณมากเกินไปถูกค้นพบว่ามีผลทำให้ร่างกายเกิดภาวะขาดแคลนทองแดงในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งในสัตว์เคี้ยวเอื้องจะมีการสร้างสารประกอบที่บรรจุ sulferและ molybdenum ที่เรียกว่าthiomolybdenate ซึ่งพบว่าจะช่วยในการยับยั้งการดูดซึมทองแดง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่าง thiomolybdenates และทองแดงนั้นไม่สามารถเกิดขึ้นได้ในร่างกายของมนุษย์ จากการศึกษาพบว่าการบริโภคข้าวฟ่างที่มีโมลิบดินัมในปริมาณ 500-1500 ไมโครกรัม/วัน จะช่วยทำให้กระเพาะปัสสาวะขับทองแดงในผู้ชายจำนวน 8 คนไดชี้ให้เห็นว่าการบริโภคโมลิบดินัมมากเกินไป (มากกว่า 1500 ไมโครกรัม/วัน) จะไม่ส่งผลกระทบต่อภาวะการบริโภคทองแดง

  10. การเมตาโบลิซึมของโมลิบดินัมการเมตาโบลิซึมของโมลิบดินัม โมลิบดินัมจะสามารถดูดซึมได้อย่างรวดเร็วจากการรับประทานอาหาร โดยมีการดูดซึมบริเวณกระเพาะอาหารและลำไส้เล็ก โดยกลไกการดูดซึมจะเป็นได้ทั้งแบบ passive หรือ activeหรืออาจทั้ง 2 อย่างซึ่งไม่สามารถระบุได้แน่ชัด การขนถ่ายของโมลิบดินัมจะผ่านทางช่องหมุนเวียนของตับและระบบหมุนเวียนของเนื้อเยื่อต่างๆในร่างกาย โดยตับและไตจะรักษาโมลิบดินัมไว้ในปริมาณมาก โมลิบดินัมจะถูกขับออกมาในรูปของปัสสาวะและน้ำดี

  11. ผลของการขาดโมลิบดินัมผลของการขาดโมลิบดินัม การขาดโมลิบดินัมจะไม่พบในคนทั่วไปที่มีสุขภาพดี แต่จะพบในกรณีที่มีการได้รับโมลิบดินัมในปริมาณไม่เพียงพอและเกิดขึ้นกับผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบในระยะยาว ผู้ป่วยที่มีอัตราการเปลี่ยนแปลงการเต้นของหัวใจและอัตราการหายใจอย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยโรคปวดศรีษะ ผู้ป่วยโรคตาบอดกลางคืน และสุดท้ายอาจทำให้เกิดอาการโคม่าได้

  12. นอกจากนี้สัญญาณที่สามารถบ่งบอกได้ว่ากำลังขาดสารโมลิบดินัมประกอบด้วย กรดยูริกอยู่ในระดับต่ำ การขับถ่ายของกรดยูริกและsulfateในกระเพาะอาหารจะลดลงแต่จะขับถ่ายออกมาในรูปของsulfiteมากขึ้น อาการดังกล่าวจะไม่ปรากฏเมื่อการทำงานของกรดอะมิโนเป็นไปอย่างไม่ต่อเนื่อง การบริโภคโมลิบดินัม (160 ไมโครกรัม/วัน) จะช่วยรักษาผู้ที่มีปัญหาการขาดแคลนกรดอะมิโนและยังช่วยฟื้นฟูอาการป่วยของคนไข้ได้อีกด้วย

  13. ในปัจจุบันความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญของโมลิบดินัมในร่างกายมนุษย์นั้นมีความสำคัญอย่างยิ่งในการศึกษาเฉพาะบุคคลในเด็กที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับการเผาผลาญซึ่งเป็นกรณีที่พบได้ยากและมีผลต่อการขาดแคลน molybdoenzyme , sulfite oxidaseและผลของการขาด sulfite oxidaseนั้นสามารถแยกได้เป็น 2 รูปแบบ • Isolated sulfite oxidase deficiencyจะมีผลกระทบต่อกิจกรรมการทำงานของsulfite oxidaseเพียงอย่างเดียว • Molydenum cofactor deficiencyมีผลกระทบต่อกิจกรรมการทำงานของทั้ง 3 เอนไซม์

  14. เพราะหน้าที่หลักของโมลิบดินัมในรูปของปัจจัยร่วมในมนุษย์นั้นทำให้เกิดความยุ่งยากในการเผาผลาญ ซึ่งจะไปรบกวนหน้าที่ทั้งหมดในเอนไซม์ของโมลิบดินัม และได้มีการวินิจฉัยผู้ป่วยทั่วโลกกว่า 100 คนที่เกิดภาวะขาดแคลนทั้งแบบ Isolated sulfiteoxidase และMolydenum cofactorผลที่เกิดจากความผิดปกติดังกล่าวเป็นผลมาจากพันธุกรรมคือ เกิดขึ้นกับบางคนเท่านั้นที่ได้รับยีนต์ที่ผิดปกติจากการสืบทอดพันธุกรรม 2 ยีนต์

  15. อีกกรณีหนึ่งคือการได้รับยีนต์ผิดปกติเพียงยีนต์เดียวจะไม่แสดงอาการของโรคขาดแคลนIsolated sulfite oxidaseแต่จะเป็นในรูปของพาหะและมีอาการเกี่ยวกับทางสมองอย่างรุนแรงซึ่งอาการจะปรากฏออกมาให้เห็นชัดเจนเนื่องจากการสูญเสียการทำงานของ sulfite oxidateในปัจจุบันไม่มีผลปรากฏแน่ชัดว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นกับระบบประสาทมีผลมาจากการสะสมสารพิษที่เกิดจากการเผาผลาญเช่น sulfite หรือการผลิตsulfate ไม่เพียงพอ

  16. การขาดแคลนแบบIsolated sulfite oxidaseและMolydenum cofactorนั้นสามารถนำไปวิเคราะห์ความสัมพันธ์กับหญิงมีครรภ์ในระยะแรกได้ (10-14 สัปดาห์) จากเยื่อหุ้มครรภ์และในบางกรณีสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะขาดแคลนสามารถระบุได้จากการทดสอบยีนต์ และไม่สามารถรักษาได้ในปัจจุบันถึงแม้ว่าจะมียาและอาหารที่สามารถต่อต้านภาวะดังกล่าวได้ซึ่งก็คือ สารประกอบกรดอะมิโนประเภท sulfer ที่จะสามารถใช้ได้ในบางกรณีเท่านั้น

  17. คำถาม • จงบอกหน้าที่ของโมลิบดินัมมาอย่างน้อย 3 ข้อ • การเมตาโบลิซึมของโมลิบดินัมเกิดขึ้นที่บริเวณใด

  18. จัดทำโดย นางสาวสิริธร ศรีเทพ 4808293 นางสาวสินีนาฏ บุญเจริญ 4811208 นางสาวสิริญาภรณ์ ศรีเทพ 4811209

More Related