1 / 18

บทที่ 20 มัลติมีเดีย

บทที่ 20 มัลติมีเดีย. มัลติมีเดียคืออะไร. ปัจจุบันมัลติมีเดียจัดว่าเป็นสื่ออีกชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ประกอบไปด้วยเสียงและวีดีโอ. ตัวกลางการสื่อสาร (Media Delivery).

hada
Download Presentation

บทที่ 20 มัลติมีเดีย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 20มัลติมีเดีย

  2. มัลติมีเดียคืออะไร ปัจจุบันมัลติมีเดียจัดว่าเป็นสื่ออีกชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ประกอบไปด้วยเสียงและวีดีโอ

  3. ตัวกลางการสื่อสาร (Media Delivery) ข้อมูลมัลติมีเดีย จะถูกเก็บลงในระบบแฟ้มเหมือนกับข้อมูลอื่นๆ ความแตกต่างหลักๆ ระหว่างไฟล์ทั่วไปและไฟล์มัลติมีเดีย ในไฟล์มัลติมีเดียจะมีการเข้าถึงด้วยอัตราความเร็วที่จำเพาะเจาะจง แต่ใน ทางตรงกันข้าม การเข้าถึงไฟล์ทั่วไปนั้นไม่ต้องการเวลาพิเศษ ซึ่งเราจะใช้วีดีโอนั้นเป็นตัวอย่างของการเกิด อัตราความเร็ว

  4. คุณลักษณะของระบบมัลติมีเดียคุณลักษณะของระบบมัลติมีเดีย 1. ไฟล์มัลติมีเดีย ( Multimedia files ) สามารถมีขนาดใหญ่ 2 . มัลติมีเดียต่อเนื่อง ( Continuous media ) ต้องการอัตราข้อมูลสูงมาก พิจารณาจาก 24 บิต ในแต่ละพิกเซล ( pixel ) ก็จะกลายเป็นว่าในหนึ่งกรอบต้องการ 800 x 600 x 24 = 11,520,000 บิตของข้อมูล ถ้ากรอบนั้นแสดงผลที่อัตรา 30 กรอบ/วินาที ซึ่งต้องการแบนด์วิช ( bandwidth ) ที่มีขนาดมากกว่า 345 Mbps 3. การประยุกต์มัลติมีเดีย มีความไวต่อการหน่วงเวลาขณะสื่อเล่นอยู่

  5. ผลของระบบปฏิบัติการ ( Operating – System Issues ) สำหรับระบบคอมพิวเตอร์ที่ส่งข้อมูลสื่ออย่างต่อเนื่องนั้น ควรมีการรับประกันอัตราและต้องการเวลาที่แน่นอน หรือที่รู้จักกันว่า คุณภาพของการบริการ ( Quality of service : Qos ) 1. การย่อและถอดรหัส จะต้องการกระบวนการของ cpu เป็นสำคัญ 2. งานสื่อต่าง ๆ จะต้องกำหนดตามลำดับก่อนหลังที่แน่นอน เพื่อให้พบความต้องการสุดท้ายของมัลติมีเดียอย่างแท้จริง 3. ในทำนองเดียวกัน ระบบไฟล์ก็ต้องการประสิทธิภาพเพื่อให้พบความต้องการอัตราของมัลติมีเดีย 4. เครือข่ายโปรโตคอลต้องรองรับแบนด์วิชที่ต้องการขณะที่มีความคลาดเคลื่อนเล็กน้อยและมีการกระตุกเกิดขึ้น

  6. Compression สื่อต่าง ๆ เมื่อทำการบีบอัดจากขนาดปกติจะทำให้มีขนาดเล็กขึ้น การบีบอัดนั้นจะทำโดยการ ลดช่องว่างในการบรรจุ เพื่อเพิ่มความสารถในการส่งไปยังผู้รับได้เร็วขึ้น ไฟล์ที่มีการบีบอัดหรือใส่รหัสข้อมูลจะต้องทำการถอดรหัสข้อมูลก่อนที่จะนำไปใช้ โดยการบีบอัดจะมีสองประเภทคือ lossy และ lossless โดยวิธีการแบบ lossy จะยอมให้มีการสูญเสียข้อมูลบางส่วนไป แต่วิธีการแบบ lossless จะไม่ยอมให้มีการสูญเสียข้อมูลจะได้ข้อมูลเดิมตามต้นฉบับ

  7. MPEG-1 MPEG-2 และ MPEG-4 MPEG-1 คือมาตราฐานของการบีบอัด VIDEO และ AUDIO ที่เห็นได้ชัดคือ Video CD และ MPEG Layer3 หรือ MP3 โดยปกติแล้วการรับชมภาพยนตร์จากแผ่นซีดี หรือที่เรียกกันปกติว่า VCD นั้น จะเป็นการบีบอัดไฟล์ในมาตรฐาน MPEG-1 ที่มีความละเอียดของภาพที่ 352x240 ที่ 30 เฟรมต่อวินาที

  8. MPEG-1 MPEG-2 และ MPEG-4 MPEG-2 : คือมาตรฐานของการบีบอัด VIDEO และ AUDIO ให้อยู่ในรูปแบบของดิจิตอล เพื่อใช้ในการส่งออกอากาศไปยังเครื่องรับโทรทัศน์โดยทางสายนำสัญญาณ หรือ ส่งทางอากาศMPEG2

  9. MPEG-1 MPEG-2 และ MPEG-4 MPEG-4 นับว่าเป็นรูปแบบที่ทันสมัยโดยใช้หลักการบีบอัด การเข้ารหัสกราฟิกและวีดีโอในแบบอัลกอริทึม ที่ได้รับการพัฒนามาจาก MPEG-1 และ MPEG-2 และเทคโนโลยีของ Apple QuickTime โดยไฟล์ที่ได้รับการบีบอัดในรูปแบบ Wavelet-based MPEG-4 จะมีขนาดเล็กกว่า JPEG หรือไฟล์ QuickTime ซึ่งเป็นผลมาจากการลดขนาดช่วงกว้างของแบนด์วิท และรวมเอาไฟล์วีดีโอกับข้อความ กราฟิกเข้าไว้ด้วยกัน นอกจากนี้ยังได้รวมเอาแอนนิเมชั้น 2-D และ 3-D ไว้ด้วย

  10. ความต้องการด้านมัลติมีเดียของเคอเนลล์ความต้องการด้านมัลติมีเดียของเคอเนลล์ การใช้ประโยชน์ด้านมัลติมีเดียต้องการการรองรับการบริการ จากระบบปฏิบัติการมากกว่าส่วนอื่นๆ เช่น การใช้โปรเเกรม word processors,การประมวลผล (compiler) , spreadsheets เวลาเเละลำดับของความต้องการนั้นเป็นสิ่งที่กำหนดลำดับของคำสั่ง เช่น การเล่นเพลงหรือวิดีโอที่มีข้อมูลชัดเจนเเละเล่นได้อย่างต่อเนื่อง ลำดับจะคงที่ ส่วนด้านระบบปฏิบัติการดั้งเดิม(traditional application) นั้น ไม่มีความจำเป็นต้องใช้เวลาเเละลำดับมาเกี่ยวข้อง

  11. การจัดตารางการทำงานของซีพียู (CPU Scheduling) เป็นหลักการทำงานหนึ่งของระบบปฏิบัติการที่ทำให้คอมพิวเตอร์มีความสามารถในการรันโปรแกรมหลาย ๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน เมื่อใดที่ซีพียู ว่าง OS จะต้องเลือกโปรเซสตัวใดตัวหนึ่งในสถานะ Ready queue เข้ามาใช้ซีพียู

  12. การจัดตารางของดิสก์ (Disk Scheduling ) ในระบบของ multiprogramming เราใช้กันอยู่นั้น process หลาย ๆตัวอาจต้องการใช้ทรัพยากรในเวลาที่ไล่เลี่ยกัน หรือเกือบพร้อมๆกัน เช่นการใช้หน่วยความจำสำรอง (disk) เพราะฉะนั้นระบบจะต้องมีวิธีหรือกระบวนการในการจัดสรรการใช้ disk ให้กับ process เหล่านี้

  13. การจัดตารางของดิสก์ (Disk Scheduling) แบบมาก่อน-ได้ก่อน (FCFS)หัวอ่านเคลื่อนที่ทั้งหมด 640 ไซลินเดอร์ (cylinders) แบบเวลาในการค้นหาสั้นที่สุดได้ก่อน (SSTF) แบบกวาด (SCAN) แบบกวาดเป็นวง (C-SCAN)

  14. Network Management Unicasting : เป็นวิธีการส่งผ่านไฟล์สตรีมมิ่งมีเดียแบบ On-Demand เป็นการเชื่อมต่อระหว่างผู้ส่งข่าวกับผู้รับข่าวในลักษณะจุดต่อจุด (Point-to-Point Networks ) แล้วข้อมูลที่อยู่ใน packet จะต้องระบุที่อยู่ของผู้รับแล้วจึงส่งเข้าไปในเครือข่าย และ packet จะได้รับการส่งต่อไปตามอุปกรณ์เลือกทางเดินข้อมูล (router) ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างเครือข่ายกลุ่มต่างๆ จนกระทั่ง packet ถึงผู้รับ ระบบ Unicasting เหมาะสำหรับเครือข่ายที่มีขนาดใหญ่

  15. Network Management Multicasting : เป็นวิธีการส่งไฟล์สตรีมมิ่งมีเดียไปยังเครื่องผู้ชมที่ได้ทำการติดต่อหรือเชื่อมโยงกับสตรีมมิ่งเซิร์ฟเวอร์ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และ Multicasting แบ่งเครือข่ายเป็นกลุ่มย่อย มีการกำหนดหมายเลขกลุ่มเป็นผู้รับ เหมาะสำหรับเครือข่ายที่มีขนาดเล็ก

  16. Real-Time Streaming Protocol (RTSP) TheRealTimeStreamingProtocol (RTSP) เป็นโปรโตคอลใช้ในระบบ Streaming ข้อมูล RTSP มีสองโครงสร้าง คือ หน่วยควบคุม และการเชื่อมต่อข้อมูล RTSP เป็นโปรโตคอลที่ใช้รูปแบบ client/serverที่ถูกออกแบบเพื่อใช้ในการแสดงสื่อมัลติมีเดีย มีคุณสมบัติที่สามารถอนุญาตให้เครื่องลูกข่ายทำการควบคุมเครื่องแม่ข่ายได้

  17. องค์ประกอบพื้นฐานระบบ Stream media เครื่องเข้ารหัส Encoder : เป็นเครื่องมัลติมีเดียพีชี Multimedia PCที่ได้ทำการติดตั้งซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมไว้สำหรับใช้แปลงไฟล์เสียงและวีดีโอ ให้อยู่ในรูปของสตรีมมิ่ง เช่น MPEG, WMF เครื่องเซร์ฟเวอร์ Servers: เป็นเครื่องที่ได้ติดตั้งซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมสำหรับใช้บริการจัดการกับสตรีมมิ่งมีเดีย เครื่องผู้ชม Player: เป็นเครื่องที่ได้รับการติดตั้งซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ใช้ในการแสดงผล

More Related