280 likes | 572 Views
บทที่ 3 การจัดการระบบสื่อสารโทรคมนาคม. 3.1 ความจำเป็นของการจัดการระบบสื่อสารโทรคมนาคม. ความจำเป็นของการจัดการ ระบบสื่อสารโทรคมนาคม. คุณค่าของการที่มีระบบสื่อสารที่ดี. การพัฒนาเทคโนโลยี. ราคาของระบบโทรคมนาคม. การผ่อนคลายกฎระเบียบต่างๆ. การจัดการเครือข่ายระบบสื่อสาร.
E N D
บทที่ 3 การจัดการระบบสื่อสารโทรคมนาคม
3.1 ความจำเป็นของการจัดการระบบสื่อสารโทรคมนาคม ความจำเป็นของการจัดการ ระบบสื่อสารโทรคมนาคม คุณค่าของการที่มีระบบสื่อสารที่ดี การพัฒนาเทคโนโลยี ราคาของระบบโทรคมนาคม การผ่อนคลายกฎระเบียบต่างๆ การจัดการเครือข่ายระบบสื่อสาร
3.2 สถานะของฝ่ายสื่อสารโทรคมนาคมในองค์กร - การก่อตั้งองค์กรขึ้นใหม่หน่วยงานที่ขาดไม่ได้คือฝ่ายสื่อสารโทรคมนาคม - ต้องมีการแบ่งหน้าที่ในการดูแลระบบสื่อสารและระบบคอมพิวเตอร์ - การรวมเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมและเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเรียกว่า “เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)” - ปัจจุบันในภาคธุรกิจของประเทศไทยยังไม่มีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเต็มรูปแบบ
3.3 ภาระหน้าที่ของฝ่ายสื่อสารโทรคมนาคม - การออกแบบและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกใหม่ๆ รวมถึงการให้บริการ - การปฏิบัติงานของเครือข่ายและการให้การสนับสนุนทางเทคนิค เช่นให้คำแนะนำการให้การบริการขั้นพื้นฐานแก่ผู้ที่อยากทราบรายละเอียด เป็นต้น - เป็นฝ่ายสนับสนุนฝ่ายบริหาร เช่น การสั่งซื้ออุปกรณ์ทางด้านการสื่อสารโทรคมนาคม
3.4 ทักษะของการจัดการระบบสื่อสารข้อมูลโทรคมนาคม - ทักษะทางด้านเทคนิค ผู้จัดการฝ่ายสื่อสารโทรคมนาคมมีความจำเป็นต้องเข้าใจเชิงเทคนิคและธุรกิจ เพื่อจะได้นำมาประยุกต์ใช้งาน - ทักษะทางด้านบุคคล สิ่งที่สำคัญที่สุดคือความเข้าใจต่อผู้ที่ได้รับคำสั่งให้ปฏิบัติงาน - ทักษะด้านแนวคิด ธุรกิจด้านสื่อสารโทรคมนาคมมีความจำเป็นต้องการบุคคลที่มีความสามารถในการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว เช่น การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี,การเปลี่ยนพฤติกรรมของลูกค้า ฯลฯ เป็นต้น
3.5 ความรับผิดชอบของการจัดการสื่อสารโทรคมนาคม 3.5.1 บุคลากร - การทำให้บุคลากรมีประสิทธิภาพในการทำงาน - ทางด้านบุคลากรอาจประกอบด้วยผู้จัดการ ผู้ออกแบบและ ติดตั้ง ผู้ดูแลเครือข่าย ช่างเทคนิค พนักงานทั่วไป เป็นต้น 3.5.2 การจัดระบบของฝ่าย - เป้าหมาย คือ การทำให้งานลุล่วงไปอย่างมีประสิทธิภาพ - สิ่งสำคัญของฝ่าย คือ การทำงานในส่วนที่เกี่ยวกับการ ทำงานของฝ่ายอื่นในองค์เดียวกันทำงานร่วมกันได้
3.5.3 การวางแผนงาน -จุดมุ่งหมายให้งานบรรลุเป้าหมายในระยะเวลาที่กำหนด 3.5.4 การสั่งการ -หน้าที่คือ กำหนดทิศทางการทำงานให้ได้ตรงตามกำหนด -อาจมีการกระตุ้นให้ทำงาน 3.5.5 การควบคุม -มีความเกี่ยวข้องกับระบบดังกล่าวในด้านการเงินและการบริการต่างๆ - การตัดสินใจที่ผิดพลาดหรือเลือกอุปกรณ์ที่ไม่เหมาะสมอาจทำให้การใช้เงินไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
3.5.6 ความมั่นคง -เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดขององค์กร - เป็นความรับผิดชอบของฝ่ายสื่อสารโทรคมนาคมเป็นหลักข้อมูลต่างๆที่มีอยู่คือสมบัติที่มีค่า - มีการฝึกอบรมและการป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดจากความประมาทหรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ 3.5.7 การคิดค้นวิธีใหม่ๆ -เป็นการช่วยเหลือบริษัทให้แข่งขันในการดำเนินธุรกิจได้อย่างดียิ่ง ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนวิธีการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ ทำให้การใช้งานเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ว
3.6 บทบาทของการจัดการระบบสื่อสารโทรคมนาคม บทบาทของการจัดการระบบสื่อสารโทรคมนาคม บทบาทระหว่างบุคคล บทบาทของข่าวสาร บทบาทของการตัดสินใจ - ความเป็นผู้นำขององค์กร - ผู้แทนขององค์กร - ผู้ประสานงาน - การที่จะรับข่าวสาร การวิเคราะห์ข่าวสาร หรือการนำเสนอข่าว เป็นเรื่องสำคัญต่อการจัดการระบบสื่อสารโทรคมนาคมอย่างมาก - การตัดสินใจขึ้นอยู่กับความจำเป็นขององค์กรเป็นสำคัญ
3.7 ทฤษฎีที่ใช้ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการกับแรงงาน ทฤษฎี X Y Z 3.8 แบบจำลองของการจัดการสื่อสารโทรคมนาคม แบบจำลองของการจัดการ สื่อสารโทรคมนาคม เงื่อนไขภายในองค์กร เงื่อนไขภายนอกองค์กร
3.8.1 เงื่อนไขภายในองค์กร เงื่อนไขภายในองค์กร เจ้าของหรือผู้ถือหุ้น การประชาสัมพันธ์ สวัสดิการ นโยบายการขายการดำเนินงาน โครงสร้างขององค์กร นโยบายเกี่ยวกับการเงินขององค์กร คุณภาพของพนักงาน
3.8.2 เงื่อนไขภายนอกองค์กร เงื่อนไขภายนอกองค์กร หุ้นส่วนการค้า การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สหภาพแรงงาน กฎระเบียบ วิธีปฏิบัติ ค่านายหน้า ตัวแทนจำหน่าย
3.9 ความจำเป็นในการจัดการเครือข่ายสื่อสารโทรคมนาคม - เครือข่ายเป็นทรัพย์สินของทางบริษัท เนื่องจากว่าต้องลงทุนมากสำหรับงานด้านเครือข่ายสื่อสารโทรคมนาคม - เครือข่ายเปรียบเสมือนเป็นทรัพยากรของบริษัท เนื่องจากถ้ามีการใช้งานอย่างถูกต้อง ก็สามารถช่วยลดรายจ่ายและเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กรได้ในระดับหนึ่งเช่นเดียวกับบุคคลากร - เครือข่ายมีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่รวดเร็ว
3.10 ระบบการจัดการเครือข่าย ระบบการจัดการเครือข่าย ระบบสื่อสารโทรคมนาคม ระบบเปิด โครงสร้างของระบบการจัดการเครือข่ายของ ISO การจัดการอุปกรณ์ การจัดการตัวแทนกระบวนการ การสร้างบล็อก
3.10.1 ระบบเปิด - แบบจำลอง OSI ( Open System Interconnection Model ) ใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆให้ใช้งานร่วมกันได้และมีมาตรฐานเดียวกัน 3.10.2 การจัดการอุปกรณ์ - หมายถึงการดำเนินการเกี่ยวกับอุปกรณ์ต่างๆ เช่น สวิตช์ เราเตอร์ ตัวมัลติเพล็กซ์เครื่องคอมพิวเตอร์หรือซอฟต์แวร์ต่างๆ 3.10.3 การสร้างบล็อก - การพิจารณาเฉพาะจุดประสงค์ที่ต้องการ
3.10.4 การจัดการตัวแทนกระบวนการ - การกลั่นกรองคัดเลือกข้อชี้แนะต่างๆ เพื่อให้การจัดการมุ่งเน้นที่ข้อผิดพลาดหรือความคลาดเคลื่อนต่างๆ เพื่อจะได้ดำเนินการแก้ไข 3.10.5 โครงสร้างของระบบการจัดการเครือข่ายของแบบจำลอง OSI - SMASE (System Management Application Service Element) เป็นตัวสร้างและใช้โปรโตคอลของหน่วยข้อมูลในการดำเนินกิจการของกระบวนการจัดการ - SCMISE (Common Management Information Service Element) เป็นส่วนที่บริการแจ้งการจัดการเพื่อรายงานการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ - ROSE (Remote OperationServiceElement) เป็นซอฟต์แวร์ที่สนับสนุนการดำเนินการระหว่างอุปกรณ์ที่อยู่ห่างไกล - ACSE (Association ControlService Element) เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำงานระหว่างกระบวนการประยุกต์ใช้งานซึ่งเป็นอิสระต่อกระบวนการประยุกต์ใช้งานที่มีความต้องการเฉพาะ
3.11 การจัดเครือข่ายในปัจจุบัน ประเด็นปัญหาของการจัดการ เครือข่ายระบบสื่อสารโทรคมนาคมในปัจจุบัน ด้านการประยุกต์ใช้งาน ด้านอุปกรณ์ ด้านบุคคลากร • มีการแยกประเภทการจัดการ • ทางด้านกายภาพด้านเหตุผล • มีการแยกสถาปัตยกรรม • ไม่มีการจัดการข้อผิดพลาด • ที่ดีพอ • ยังขาดขั้นตอนในการวัดระ • ดับความพอใจของผู้ใช้บริการ • ปลายทาง • ขาดรูปแบบของฐาน • ข้อมูล • สินค้ามีหลากหลาย • การสนับสนุนด้าน • บริการค่อนข้างแย่ • สถาปัตยกรรมที่แข่งขัน • กัน • ปัญหาการเปลี่ยนงาน • บุคลากรมากเกินไป • การเปลี่ยนแปลงงาน • ที่ต้องรับผิดชอบ
3.12 กิจกรรมการจัดการเครือข่าย กิจกรรมการจัดการเครือข่าย การจัดการด้านองค์ประกอบ การจัดการด้านบัญชี การจัดการด้านความผิดพลาด การจัดการด้านประสิทธิภาพ การจัดการด้านความมั่นคง
3.13 การจัดการด้านต่างๆ การจัดการด้านต่างๆ กระบวนการจัดการและขั้นตอนการจัดการ บุคคลากร ขั้นตอนการจัดการ อุปกรณ์การจัดการ
3.14 ความอยู่รอดของเครือข่าย - การปกป้องศูนย์กลางการจัดการเครือข่าย เช่น กรณีอาคารถูกวางระเบิดได้รับความเสียหาย แต่ระบบโทรศัพท์ยังสามารถใช้การได้ - มีการสำรองระบบไว้อีกสถานที่หนึ่ง - การใช้ระบบไฟฟ้าฉุกเฉินในกรณีที่เกิดเหตุไฟฟ้าขัดข้อง
จบ สวัสดี