1 / 59

แผนปฏิบัติการปี 2556 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 1

แผนปฏิบัติการปี 2556 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 1. ดร.อภิชัย กรมเมือง ผอ. สพป.ยส. เขต 1. โครงสร้างแผนปฏิบัติการปี 2556 ส่วนที่ 1 สภาพการจัดการศึกษา ภารกิจหน่วยงาน ข้อมูลทั่วไป ปริมาณงาน ส่วนที่ 2 ทิศทางการพัฒนาคุณภาพ

genica
Download Presentation

แผนปฏิบัติการปี 2556 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนปฏิบัติการปี 2556 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 1 ดร.อภิชัย กรมเมือง ผอ.สพป.ยส.เขต 1

  2. โครงสร้างแผนปฏิบัติการปี 2556 ส่วนที่ 1 สภาพการจัดการศึกษา ภารกิจหน่วยงาน ข้อมูลทั่วไป ปริมาณงาน ส่วนที่ 2 ทิศทางการพัฒนาคุณภาพ วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ตัวชี้วัด ส่วนที่ 3 แผนงานโครงการ ภาคผนวก การบริหารแผนสู่การปฏิบัติการ /คำสั่ง

  3. ข้อมูลโรงเรียน มีโรงเรียนทั้งสิ้น 193 โรงเรียน ขนาดเล็ก 1-120 คน 123 โรงเรียน ขนาดกลาง 121- 600 คน 68 โรงเรียน ขนาดใหญ่ 601– 1,500 คน 1 โรงเรียน ใหญ่พิเศษ 1,501 คนขึ้นไป 1 โรงเรียน

  4. สภาพการจัดการศึกษา ข้อมูลเบื้องต้น มีพื้นที่ครอบคลุม 4 อำเภอ 44 ตำบล อ. เมืองยโสธร 17 ตำบล อ. คำเขื่อนแก้ว 13 ตำบล อ. มหาชนะชัย 10 ตำบล อ. ค้อวัง 4 ตำบล

  5. ข้อมูลโรงเรียนขนาดเล็กข้อมูลโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดเล็กทั้งสิ้น 123 โรงเรียน 1 - 20 คน 2 โรงเรียน 21- 40 คน 23 โรงเรียน 41– 60 คน 29 โรงเรียน 61– 80 คน 33 โรงเรียน 81– 120 คน 35 โรงเรียน

  6. ข้อมูลนักเรียน มีนักเรียนทั้งสิ้น 23,110 คน 1,786 ห้อง ระดับก่อนประถม 4,462 คน 399 ห้องเรียน ระดับประถม 15,785 คน 1,232 ห้องเรียน ระดับ ม. ต้น 2,863 คน 155 ห้องเรียน สัดส่วนนักเรียนต่อห้อง 13 : 1

  7. ข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษาข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการ สพป. 1 คน รอง ผอ. สพป. 10 คน ศึกษานิเทศก์ 19 คน บุคลากรทางการศึกษา อื่น 38 ค (2) 64 คน ผู้บริหารสถานศึกษา 183 คน ครู 1,615 คน ลูกจ้างประจำ (นักการฯ + พขร.) 101 คน ลูกจ้างชั่วคราว 330 คน - พี่เลี้ยงเด็กพิการ 58 คน - พนักงานราชการ 67 คน - ครูขั้นวิกฤต 16 คน - ครูธุรการ 76 คน - นักการฯ 87 คน - ครู วิทย์ + คณิตฯ 22 คน - พ.พิมพ์ดีด/ยาม/พ.ทำความสะอาด 4 คน รวมทั้งสิ้น 2,321 คน

  8. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา 2554 ผลการสอบ O-NET ชั้น ป. 6 ไทย 57.36 คณิต 62.81 วิทย์47.69 อังกฤษ 49.42 สังคม 59.37 สุขศึกษา 63.17 ศิลปะ 53.31 การงาน 62.88 เฉลี่ย 57.00 สงกว่าปี 53 = 13.56

  9. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา 2554 ผลการสอบ O-NET ชั้น ม. 3 ไทย 53.05 คณิต 37.34 วิทย์44.52 อังกฤษ 39.97 สังคม 48.46 สุขศึกษา 55.11 ศิลปะ 49.26 การงาน 53.97 เฉลี่ย 47.71 สูงกว่าปี 53 = 9.22

  10. การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา 2554 ผลการสอบ N-T ชั้น ม. 3 ไทย 60.61 คณิต 55.25 วิทย์44.44 เฉลี่ย 53.43 ต่ำกว่าปี 53 = 1.23

  11. การดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2550 ได้ 4.6109 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.21 ปี 2551 ได้ 4.2465 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 84.93 ปี 2552 ได้ 4.2432 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 84.87 ปี 2553 ได้ 3.8156 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 76.31 ปี 2554 ได้ 4.2409 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 84.82

  12. การดำเนินงานการขับเคลื่อนกลยุทธ์การดำเนินงานการขับเคลื่อนกลยุทธ์ ปี 2550 ได้ 2.86 คะแนน ระดับคุณภาพ ดีมาก ปี 2551 ได้ 2.83 คะแนน ระดับคุณภาพ ดีมาก ปี 2552 ได้ 2.65 คะแนน ระดับคุณภาพ ดีมาก ปี 2553 ได้ 1.90 คะแนน ระดับคุณภาพ ดี ปี 2554 ได้ 2.58 คะแนน ระดับคุณภาพ ดีมาก

  13. ปัญหา 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ 2 ด้านคุณธรรมและสำนึกความเป็นไทยยังไม่ดีพอ 3 คุณภาพชีวิตและการศึกษาของผู้เรียน 4 สถานศึกษาไม่ผ่านมาตรฐานการศึกษา 5 ยังมีเด็กตกหล่น ออกกลางคัน ไม่เรียนต่อ 6 โรงเรียนขนาดเล็กขาดประสิทธิภาพ 7 ขาดครูและบุคลากรทางการศึกษา 8 ขาดแหล่งเรียนรู้ทีมีคุณภาพ 9 ขาดแคลนอาคารเรียน อาคารประกอบ คอมฯ

  14. วิสัยทัศน์(VISION) สพป.ยโสธร เขต 1 เป็นองค์กรขับเคลื่อนการศึกษา ขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสู่สากล ภายในปี2558 รวมทั้งลดช่องว่างของโอกาสและคุณภาพการศึกษา

  15. พันธกิจ(MISSION) • พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษา • ให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม • มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน • และการพัฒนาสู่คุณภาพระดับสากล

  16. คำขวัญ • “โรงเรียนดี • นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐาน • ครูมืออาชีพ”

  17. ค่านิยมองค์กร • ค่านิยมองค์กร สพป.ยส.1 • YASOTHON 1 CoreValues • Y = Youthful หมายถึง เปี่ยมพลังอย่างคนรุ่นใหม่ • A = Attention หมายถึง มุ่งมั่นใสใจต่อหน้าที่ • S = Service Mind หมายถึง จิตยินดีให้บริการ • O = Organiseหมายถึง ระบบงานเป็นระเบียบ • T = Team Work หมายถึง เพียบพร้อมสามัคคี • H = Hight Tech หมายถึง เทคโนโลยีก้าวไกล • O = Openly หมายถึง โปร่งใสตรวจสอบ • N = Net work หมายถึง สร้างเครือข่ายพันธมิตร • 1 = One หมายถึง เพื่อพิชิตความเป็นที่หนึ่ง

  18. เป้าประสงค์(GOALS) • ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน • และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ • (2) ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่อนุบาล • จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างมีคุณภาพทั่วถึง และเสมอภาค • (3) ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ • เต็มตามศักยภาพ • (4) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษามีความเข้มแข็งตามหลัก • ธรรมาภิบาลและเป็นกลไกลขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่คุณภาพ • ระดับมาตรฐานสากล

  19. กลยุทธ์ • 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร • และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ • 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิต • ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงและลดความเลื่อมล้ำ ผู้เรียนได้รับ • โอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ • 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ได้อย่างมีคุณภาพ • 5 พัฒนาการบริหารจัดการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมภิบาล • เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา

  20. แผนงาน • 1. ป้องกันและปราบปรามการทุจริต • 2. แก้ไขปัญหาแลพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ • 3. ฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาค • 4. สนับสนุนเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาเพื่อการศึกษา • 5. สนับสนุนการจัดการศึกษาตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษา • ขั้นพื้นฐาน • 6. สร้างและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงและเป็นธรรม

  21. ผลผลิต 6 ข้อ • 1. ผู้จบการศึกษาก่อนประถมศึกษา • 2. ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ • 3. ผู้จบการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย • 4. เด็กพิการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานและการพัฒนา • สมรรถภาพ • 5. เด็กด้อยโอกาสได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน • 6. เด็กที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และ • วิทยาศาสตร์

  22. จุดเน้น 9 ข้อ • 1. นักเรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ • หลักเพิ่มขึ้น โดยผลการทดสอบระดับชาติ(O-NET) • เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5 • 2. เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการเตรียมความพร้อม ด้าน • ร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ตามหลักสูตร • การศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ • 3. นักเรียนชั้น ป. 3 ทุกคนอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น • และนักเรียนชั้น ป. 6 ทุกคน อ่านคล่อง เขียนคล่อง • คิดเลขคล่องและมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน

  23. จุดเน้น 9 ข้อ • 4. นักเรียนทุกคนมีความสำนึกในความเป็นไทย • มีจิตสาธารณะ และอยู่อย่างพอเพียง • 5. นักเรียนที่มีความสามารถด้านคณิตศาสตร์ • วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศิลปะศาสตร์ ทุกคน • ได้รับการส่งเสริมให้มีความเป็นเลิศ

  24. จุดเน้น 9 ข้อ • 6. ประชากรวัยเรียนทุกคนมีโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาด้วยทางเลือกที่หลากหลาย เพื่อลดอัตราเด็กตกหล่น ออกกลางคัน ส่งเสริมการเรียนต่อ • หรือประกอบอาชีพ • 8. นักเรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษา • ทุกคน มีความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม

  25. จุดเน้น 9 ข้อ • 9. สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ • มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็งและได้รับ • การรับรองจากการประเมินภายนอก • 10. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีคุณภาพตามมาตรฐานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา • และมีผลการประเมินระดับดีเยี่ยม

  26. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 1 มี 5 จุดเน้น จุดเน้น 1. เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการเตรียมความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ มาตรการ 1. ยกระดับคุณภาพการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนปฐมวัย ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนจัดเตรียมความพร้อมปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ 2. ร้อยละ 100 ของนักเรียนที่จบการศึกษาก่อนประถมศึกษา ตามกำหนดเวลาของหลักสูตร

  27. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 1 มี 5 จุดเน้น จุดเน้น 2. นักเรียน ป. 3 ทุกคนอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น และนักเรียน ป. 6 ทุกคน อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง และมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน มาตรการ 1. พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยและคณิตศาสตร์ ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของนักเรียนชั้น ป. 3 อ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็น 2. ร้อยละ 100 ของนักเรียนชั้น ป. 6 อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่องและมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน 3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาทุกคน ใช้เวลาอ่านหนังสือนอกเวลาเรียน โดยเฉลี่ยอย่างน้อยวันละ 60 นาที

  28. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 1 มี 5 จุดเน้น จุดเน้น 2. (ต่อ) มาตรการ 2. เร่งรัดพัฒนาการเรียนการสอนและสื่อการเรียนรู้ให้เป็นไปตามเป้าหมาย หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวิจารณาญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ตามระดับการศึกษา

  29. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 1 มี 5 จุดเน้น จุดเน้น 3. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้หลักเพิ่มขึ้น โดยผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET)เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5 มาตรการ 1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรฯ 8 กลุ่มสาระ โดยเน้น 5 กลุ่มวิชาหลัก ได้แก่ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย สังคมศึกษา และภาษาอังกฤษ ตัวชี้วัด 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาหลักระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากการประเมิน ระดับชาติเพิ่มขึ้นร้อยละ 5

  30. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 1 มี 5 จุดเน้น จุดเน้น 4. นักเรียนมีความสามารถด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศิลปศาสตร์ทุกคนได้รับการส่งเสริมให้มีความเป็นเลิศ มาตรการ 1. ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาใช้ระบบ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อจัดการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของนักเรียนชั้น ป. 1 ได้รับสนับสนุนคอมพิวเตอร์พกพา 2. ร้อยละ 100 ของนักเรียนชั้น ป. 1 ที่ได้รับสนับสนุนคอมพิวเตอร์พกพา ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 3. ร้อยละ 100 ของนักเรียน มีทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ร้อยละ 100 ของนักเรียน ที่ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ 5. อัตราส่วนคอมพิวเตอร์ ต่อนักเรียน 1 : 10 6. ร้อยละ 80 ของสื่อการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระที่มีคุณภาพทั้งเนื้อหาและรูปเล่มให้สถานศึกษาเลือกใช้ อย่างหลากหลาย

  31. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 1 มี 5 จุดเน้น จุดเน้น 5. นักเรียน ครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มีความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียน มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม มาตรการ 1. พัฒนาศักภาพผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีทักษะภาษา ที่สอง และมีความพร้อมต่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียน จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2. ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรทางการศึกษา สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ 3. ร้อยละ 100 ของโรงเรียน มีหลักสูตรบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เข้าสู่ประชาคมอาเซียน 4. ร้อยละ 50 ของโรงเรียนต้นแบบประเภทต่าง ๆ จัดการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

  32. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 1 มี 5 จุดเน้น จุดเน้น 5. (ต่อ) มาตรการ 1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง และระบบเศรษฐกิจ สังคมพหุวัฒนธรรม รองรับการเป็นสมาชิกประชาคมอาเซียน ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 80 ของโรงเรียน จัดกิจกรรมสร้างความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลง และสังคมพหุวัฒนธรรม 2. ร้อยละ 60 ของนักเรียน สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ 3. ร้อยละ 60 ของโรงเรียนต้นแบบ สามารถสร้างเครือข่ายในกลุ่มประเทศอาเซียนได้

  33. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 1 มี 5 จุดเน้น จุดเน้น 5. (ต่อ) มาตรการ 2. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีทักษะชีวิตในการรับมือกับภัยพิบัติได้ ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียน จัดกิจกรรมรับมือภัยพิบัติที่เหมาะสม กับบริบทของพื้นที่

  34. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 1 มี 5 จุดเน้น จุดเน้น 5. (ต่อ) มาตรการ 3. สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันภัยพิบัติตามสภาพภูมิศาสตร์ ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของนักเรียน สามารถเรียนรู้และปรับตัวเข้ากับ สถานการณ์กับภัยพิบัติ 2. ร้อยละ 100 ของนักเรียน และบุคลากร ได้รับการช่วยเหลือในเบื้องต้น

  35. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 2 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. นักเรียนทุกคนมีความสำนึกในความเป็นไทย มีจิตสาธารณะและอยู่อย่างพอเพียง มาตรการ 1. ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของนักเรียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  36. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 2 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. (ต่อ) มาตรการ 2. ส่งเสริมจิตสำนึกความเป็นชาติไทยในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของนักเรียน มีความสำนึกในความเป็นไทย

  37. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 2 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. (ต่อ) มาตรการ 3. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย สังคมศึกษา ประชาธิปไตย มีความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของนักเรียนได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย สังคมศึกษา ประชาธิปไตย มีความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก

  38. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 2 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. (ต่อ) มาตรการ 4. ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม 2. ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีคุณธรรมจริยธรรม (คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ได้แก่ ขยัน ประหยัด ซี่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้ำใจ) 3. ร้อยละ 100 ขงนักเรียนประกอบกิจกรรมทางศาสนา และกิจกรรม ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคมอย่างสม่ำเสมอ

  39. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 2 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. (ต่อ) มาตรการ 5. ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมความมีจิตสาธารณะ ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

  40. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 2 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. (ต่อ) มาตรการ 6. ส่งเสริมการดำรงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของโรงเรียน จัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

  41. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 2 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. (ต่อ) มาตรการ 7. ขยายผลโรงเรียนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 80 ของโรงเรียนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพยง ผ่านการประเมิน ตามเกณฑ์มาตรฐาน

  42. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 3 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. ประชากรวัยเรียนทุกคนมีโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษาด้วย ทางเลือกที่หลากหลาย เพื่อลดอัตราเด็กตกหล่น ออกลางคัน ส่งเสริมการเรียนต่อหรือประกอบอาชีพ มาตรการ 1. เร่งรัดให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาขันพื้นฐาน ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียน ต่อจำนวนประชากรวัยเรียนได้รับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2. ร้อยละ 100 ของผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกำหนดเวลาของ หลักสูตร

  43. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 3 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. (ต่อ) มาตรการ 2. สนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 ของผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายทางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2. ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองมีความพึงพอใจที่ได้รับการบริการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

  44. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 3 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. (ต่อ) มาตรการ 3. เสริมสร้างระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างครูกับนักเรียน ตัวชี้วัด 1. อัตราการออกกลางคันลดลง 2. อัตราการเรียนต่อของผู้จบชั้น ม. 3 สูงขึ้น 3. จำนวนนักเรียนอายุต่ำกว่า 15 ปี ที่ตั้งครรภ์ลดลงร้อยละ 100 4. จำนวนคดีเด็กและเยาวชนที่ถูกดำเนินคดี โดยสถานพินิจฯลดลงร้อยละ 100 5. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนที่จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน ปัญหาสังคมให้กับผู้เรียน

  45. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 3 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. (ต่อ) มาตรการ 4. ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ตัวชี้วัด 1. นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสารเสพติดลดลงร้อยละ 100 2. ร้อยละ 100 ของนักเรียนที่ติดสารเสพติดเข้ารับการบำบัด

  46. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 3 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. (ต่อ) มาตรการ 5. ส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาส ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 90 ของผู้ด้อยโอกาสมีคุณภาพตามมาตรฐาน การเรียนรู้ของหลักสูตร

  47. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 3 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ (ต่อ) มาตรการ 6. ส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับผู้พิการ ตัวชี้วัด 1. ผู้พิการจำนวน 1,639 คน ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพ 2. ร้อยละ 65 ของผู้พิการมีความพร้อมเข้าเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. ร้อยละ 80 ของผู้พิการผ่านเกณฑ์การพัฒนาสมรรถภาพ 4. ร้อยละ 65 ของผู้พิการที่จบการศึกษาตามกำหนดเวลา 5. ร้อยละ 80 ของผู้พิการได้รับการพัฒนาสมรรถภาพตามกำหนดเวลา

  48. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 4 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มีความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียน มีภูมิคุมกันต่อการเปลี่ยนแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม มาตรการ 1. ประสานการวางแผนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นระบบ มีปริมาณเพียงพอและมีคุณภาพ ตัวชี้วัด 1. สพป. ผ่านการประเมินความเข้มแข็งดานการบริหารทรัพยากรบุคคลในระดับดีเยี่ยม

  49. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 4 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. (ต่อ) มาตรการ 2. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 80 ของความสำเร็จในการพัฒนาครูฯที่ได้รับการพัฒนาตามศักยภาพและบริบทรอบตัวผู้เรียน 2. ร้อยละ 80 ของครูฯ ได้รับการพัฒนาเป็นครูเก่งมีคุณภาพและคุณธรรม 3. ร้อยละ 80 ของครูฯ ที่ได้รับการพัฒนาด้วยระบบ IT สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  50. จุดเน้น มาตรการและตัวชี้วัดความสำเร็จ กลยุทธ์ที่ 4 มี 1 จุดเน้น จุดเน้น 1. (ต่อ) มาตรการ 2. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด 4. ร้อยละ 100 ของครู สามารถจัดการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์พกพา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ร้อยละ 100 ของครูฯ ได้รับการเตรียมความพร้อมด้วยภาษาที่สอง เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 3. ร้อยละ 60 ของครูฯ ที่สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้

More Related