210 likes | 407 Views
เวที .. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฎิบัติการ ชุมชนเดินทางปลอดภัย. เกริ่นนำ .. นำเสนอ .. บทเรียนดี ๆ จากพื้นที่ต้นแบบ ปทุมวิลเลจ .. ชุมชนปลอดภัย แบบมีส่วนร่วม อบต.แพง ร่วมใจ ..สร้างถนนปลอดภัยแก้ไขจุดเสี่ยง ชุมชนปลอดภัย .. วังทรายพูน จ.พิจิตร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ .. จากผู้ร่วมประชุม.
E N D
เวที .. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เชิงปฎิบัติการ ชุมชนเดินทางปลอดภัย .. • เกริ่นนำ .. • นำเสนอ .. บทเรียนดี ๆ จากพื้นที่ต้นแบบ • ปทุมวิลเลจ .. ชุมชนปลอดภัย แบบมีส่วนร่วม • อบต.แพง ร่วมใจ ..สร้างถนนปลอดภัยแก้ไขจุดเสี่ยง • ชุมชนปลอดภัย .. วังทรายพูน จ.พิจิตร • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ .. จากผู้ร่วมประชุม ศูนย์วิชาการเพื่อ ความปลอดภัยทางถนน ศวปถ.
โจ๋ไทย .. ตายเพราะเหล้า – มอเตอร์ไซด์สูงสุด .. • วัยรุ่นไทย .. อายุต่ำกว่า 15 ปี ที่บาดเจ็บเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล 29 แห่ง • พบว่า 1/3 มาจากอุบัติเหตุจราจร (บาดเจ็บ 9,840 ราย เสียชีวิต 334 ราย) • พาหนะต้นเหตุ คือ รถมอเตอร์ไซด์ (70% ) • ผู้บาดเจ็บ 97% พบว่าดื่มสุรา และ 95%ไม่สวมหมวกกันน๊อค • ส่วนใหญ่เกิดในช่วงเวลา 16.00 – 24.00 น. ในวันเสาร์ - อาทิตย์ สร้างถนนขึ้นมาเยอะแยะ แต่ไม่ได้สร้างจิตสำนึกขึ้นมาด้วย .. สุดท้ายก็มาตายบนถนน ที่ช่วยกันสร้างขึ้นมา นายก อบต. ต.ตลาด อ.เมือง นครราชสีมา
ระดับปัญหา-สาเหตุ อุบัติเหตุจราจร .. ปัจเจก • ตาย 35 คน/วัน • เข้า รพ. 2,700 คน/วัน • พิการสะสม 100,000 คน • ความสูญเสีย 2 แสนล้าน/ปี ปัจจัยเสี่ยง โครงสร้าง รถ ถนน สภาพชำรุด ขาดป้ายเตือน สภาพไม่พร้อม ดัดแปลง คน พฤติกรรม .. ขับเร็ว ดื่มสุรา ง่วง วัฒนธรรม ราก ปัญหา • สิ่งแวดล้อม .. • ออกแบบไม่เหมาะ • ขาดระบบตรวจสอบ การกวดขัน บังคับใช้กฎหมายอย่างต่อเนื่อง ความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม
สังคมไทย ..ในสายตาฝรั่ง
ประเพณี .. วิถีชีวิต แบบไทย ๆ
ความเร็ว .. ความเร่งรีบ .. เป็นสิ่งปกติ ของสังคมไทย
ข้ามถนนเมืองไทย .. ไม่ง่าย อย่างที่คิด
ช่วยกัน .. ถอดบทเรียน • อะไรคือ .. ความสำเร็จ – ความภูมิใจ • อะไรคือ .. เงื่อนไข – ปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จ (เบื้องหลัง / เคล็ดลับความสำเร็จ) • ชุมชน .. วิเคราะห์ – สร้างความเข้าใจปัญหาได้อย่างไร • ชุมชน .. ระดมการมีส่วนร่วมอย่างไร • ชุมชน .. มีวิธีสร้างการเรียนรู้ให้กับผู้เกี่ยวข้องได้อย่างไร • ชุมชน .. มองหาทางออกของตัวเองได้อย่างไร • อะไรคือ .. สิ่งที่ท่านเรียนรู้ (ปิ๊ง) และนำกลับไปใช้
สรุป .. ข้อเสนอแนะ สำหรับทิศทางการดำเนินงานของ อปท. ในการป้องกันแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุจราจร
1 5 ท้องถิ่น-ชุมชนมีแผนปฏิบัติการเพื่อปลูกจิตสำนึกให้เยาวชนตระหนักในเรื่องความปลอดภัย ส่งเสริมวินัยจราจร พร้อมทั้งจัดให้มีการบรรจุเรื่องความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน เป็นหลักสูตรท้องถิ่นในสถานศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพท้องถิ่นมีบทบาทในการสนับสนุนการให้บริการฉุกเฉิน (Emergency Medical Service : EMS) เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการตามมาตรฐานขั้นพื้นฐาน 4 รัฐบาลและท้องถิ่นต้องร่วมกันส่งเสริมสนับสนุนระบบขนส่งสาธารณะ เพื่อเป็นทางเลือกทดแทนการใช้รถจักรยานยนต์และรถยนต์ส่วนตัวโดยไม่จำเป็น โดยคำนึงถึงบริการที่ครอบคลุมและเชื่อมโยงทั่วทุกภูมิภาค ประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้บริการได้โดยสะดวก ปลอดภัย และให้ความสำคัญกับคุณภาพชีวิตของประชาชนมากกว่าความคุ้มทุนทางเศรษฐกิจเท่านั้น 7 ข้อเสนอ.. บทบาท อปท. ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุจราจร ท้องถิ่น ชุมชน ถนนปลอดภัย ร่วมใจลดอุบัติเหตุ 3 มีการพัฒนามาตรฐานการป้องกันอุบัติภัยทางถนนและระบบจูงใจให้แต่ละท้องถิ่นนำไปดำเนินการ โดยเน้นการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่าย ในการสำรวจและแก้ไขจุดเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ จัดทำระบบข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุจราจรในพื้นที่ และมีการตรวจสอบความปลอดภัยบนท้องถนนอย่างต่อเนื่อง 6 สนับสนุนบุคลากรท้องถิ่นให้มีสมรรถนะในการป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 7 มีกลไกประสานงานความปลอดภัยทางถนนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อประสานและเชื่อมโยงการทำงานของทุกหน่วยที่เกี่ยวข้อง และดำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง อปท. ทล. ทช. ควรดำเนินการส่งเสริมกระบวนการออกแบบถนนที่คำนึงถึงวิถีชีวิต และประโยชน์ของชุมชนสองข้างทาง พร้อมทั้งนำหลักวิชา การจัดการเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ( Road Safety Audit ) มาเป็นเครื่องมือในการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย ข้อเสนอ จาก .. เวทีสัมมนาอุบัติเหตุแห่งชาติ ครั้งที่ 8 และ เวที ศปถ.
หัวใจสำคัญ อยู่ที่ปรับเปลี่ยน แนวคิด .. คนทำงาน แยกส่วน ต่างคนต่างทำ บูรณาการ - ภาพรวม ติดกรอบ สูตรสำเร็จ เรียนรู้ ปรับวิธี ตามบริบท แก้ปลายเหตุ (รณรงค์) แก้ที่รากปัญหา รองบส่วนกลาง หาแนวร่วม เจ้าภาพใหม่ๆ ทำเป็นช่วง ๆ ทำต่อเนื่อง เกาะติด
บทเรียน .. การขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ A กลุ่ม เป้าหมาย สสส แกนนำ ในระดับพื้นที่ B งบอื่น ๆ กองทุนเลขสวย ท้องถิ่น สปสช. ฯลฯ • ภาครัฐ • ภาคสังคม / ปชช. • ภาคธุรกิจ • ท้องถิ่น ภาคีใน ระดับพื้นที่
สิ่งที่ผู้ใหญ่ .. มักจะทำ กับ สิ่งที่ควรทำ • สิ่งที่ผู้ใหญ่มักจะทำ • คือ การควบคุม(control) ? • ผ่านการออกกฎเกณฑ์ • และ ข้อบังคับต่างๆ • สิ่งที่ผู้ใหญ่ควรจะทำ ? • การสร้างค่านิยมที่ดีของชุมชน • ปลูกฝังคุณค่า ค่านิยมให้เยาวชน • เช่น เป็นแบบอย่าง ส่งเสริมเรื่องดีๆ ทำไม .. ผู้ใหญ่จึงคิดแต่จะสร้างกฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ?
สภาวะ .. ที่สร้างการเรียนรู้ Defense mode สภาวะปิดกั้น • อยู่ในสภาวะเปิดใจ/พร้อม • รู้สึกสนุก • บรรยากาศสบายๆ • สัมพันธ์แนวราบ • มีการกระตุ้นด้านบวก • มีคนรับฟัง • ในสภาวะคับขัน/ระวังตัว • สมองจะหยุดการเรียนรู้ • เพื่อเตรียมพร้อม เช่น • สถานการณ์ฉุกเฉิน • ความสัมพันธ์แนวดิ่ง • บรรยากาศด้านลบ • ถูกกดดัน ตำหนิ • บีบคั้น Learning mode สภาวะเรียนรู้
Learning pyramid: การรับรู้ของคน 10% การอ่าน 20% การฟัง การอ่าน การฟัง รับรู้จากการฟัง เห็น พูด ดูภาพ-ภาพยนตร์ 30% สิ่งที่เราเห็น รับรู้จากการ มองเห็น ชมสาธิต - ไปดูงาน 50% เห็น + ฟัง 70%สิ่งที่เราพูด ร่วมอภิปราย + แสดงความคิดเห็น จากการมี ส่วนร่วม ได้แสดง / อยู่ในสถานการณ์จำลอง ลงมือทำจริง สรุปผล + นำเสนอผล (เล่าต่อ) 90% สิ่งที่เรา ได้ลงมือทำ
บทเรียนความสำเร็จ .. จากบทบาทผู้นำ เริ่มจากปรับเปลี่ยน .. วิธีคิด + วิธีทำงาน • จาก..กรอบคิด-ทัศนะเก่า สู่ มุมมองใหม่ๆ • จาก..ต่างคนต่างทำ สู่ แกนนำ ทีม-เครือข่าย • จาก..การสั่งการ สู่ การเรียนรู้ร่วมกัน ลุกขึ้นมา .. เป็น เจ้าภาพ ด้วยตัวเอง