520 likes | 649 Views
ยินดีต้อนรับ .. ภาคีจาก ๑๙ จังหวัด เข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้. “ ทบทวน แบ่งปัน .. มุ่งมั่น สานต่อ ”. มาร่วมกันเรียนรู้ : ถอดบทเรียน + สร้างความรู้ สู่ การปฏิบัติ. โดย .. ทีมเอดส์ สคร. ๕ (เจ้าเก่า). เวที .. แลกเปลี่ยน เรียนรู้. ๒๔ พย. เปิดงาน .. รู้จัก ทักทาย
E N D
ยินดีต้อนรับ .. ภาคีจาก ๑๙ จังหวัด เข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ทบทวน แบ่งปัน .. มุ่งมั่น สานต่อ ” มาร่วมกันเรียนรู้ :ถอดบทเรียน + สร้างความรู้ สู่ การปฏิบัติ โดย .. ทีมเอดส์ สคร. ๕ (เจ้าเก่า)
เวที .. แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ๒๔ พย. เปิดงาน .. รู้จัก ทักทาย เกริ่นนำ ..วัตถุประสงค์ / ความคาดหวัง ทบทวน ทายท้า .. กับปัญหาที่เผชิญอยู่ เล่า แลก ..เรื่องดี ที่เล่าสู่กันฟัง ถก ถอด ..สรุปบทเรียน - ปัจจัยสู่ความสำเร็จ
เวที .. แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ๒๕ พย. ๖. เก็บตก.. ทบทวนบทเรียน (วันแรก) ๗. บทเรียนดี ๆ .. Success Story Sharing : SSS ๘. มุ่งมั่น สานต่อ .. วางแผน + นำเสนอก้าวต่อไป ๙. ส่งท้าย ก่อนอำลา
ขั้นตอน .. กิจกรรม • จับกลุ่ม ๓ คน .. วิเคราะห์และ • แลกเปลี่ยน ๔ ประเด็น (๑๐ นาที) • ติดกระดาษที่ภาพต้นไม้ • กลุ่มใหญ่ (เขต) ร่วมกันแลกเปลี่ยน (๑๕ นาที) • เวียนข้ามกลุ่ม.. Gallery walk • สรุป – นำเสนอ – แลกเปลี่ยน ๔) สิ่งที่เรา ดำเนินการอยู่ (สัม) ๓) สิ่งที่เรา คาดหวัง (ม่วง) ๒) ปัจจัย – สาเหตุ (รากปัญหา) เหลือง ๑) ความภูมิใจ (เขียว) / ความห่วงใย (ชมพู) (สถานการณ์เยาวชน .. ที่เป็นอยู่ ด้านบวก-ลบ) ทบทวน ทายท้า .. กับปัญหาที่เผชิญอยู่
เล่า แลก .. แบ่งปัน แบ่งกลุ่ม ๖-๗ คน .. เล่าความประทับใจ ความภูมิใจ และความสำเร็จในการแก้ปัญหา หรือ เรื่องอื่นที่อยากแบ่งปัน (เล่าคนละ ๔-๕ นาที) สมาชิกในกลุ่ม ..ร่วมกันสังเคราะห์บทเรียน เบื้องหลังความสำเร็จ .. ว่าใช้กลเม็ด-เคล็ดลับใด ? และ มีอะไรเป็นปัจจัยหรือเงื่อนไขสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จ นำแผ่นสรุป Key success ติดที่บอร์ดด้านหลัง
ถก ถอด .. แบ่งกลุ่มตามปัจจัย / เงื่อนไขสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จ (กลุ่มละ ๗-๘ คน) .. แลกเปลี่ยนมุมมอง วิธีคิด .. ทำอย่างไรจะทำให้เกิดปัจจัย / เงื่อนไขเหล่านี้ได้ (๓๐ นาที) สลับกลุ่ม (แต่ละคนเลือกหัวข้อใหม่) ร่วมกันวิเคราะห์ซ้ำอีกรอบ (๓๐ นาที) สังเคราะห์ข้อมูลทั้ง ๒ กลุ่ม + นำเสนอ / แลกเปลี่ยน หมายเหตุ .. แต่ละคนจะเข้ากลุ่ม ๒ รอบ
โจทย์สำคัญ .. ที่ต้องทำไปพร้อมๆกัน • สร้างประเด็นเยาวชน • เป็นนโยบายสาธารณะ • (talk of the town) • ผู้บริหาร • สื่อมวลชน • ฯลฯ 5 2 • พัฒนาทักษะส่วนบุคคล • ปรับหลักสูตร • ปรับกิจกรรมในโรงเรียน • ที่เปิดกว้าง-เหมาะสมกับ • การเรียนรู้ของเยาวชน เยาวชน เรียนรู้ - ตระหนักคุณค่าตัวเอง 4 • สร้างสิ่งแวดล้อม • ที่เอื้อต่อสุขภาพ • สื่อ สิ่งพิมพ์ (TV VCD) • internet • การบริโภคสุรา • สถานบันเทิง ฯลฯ • สร้างชุมชนเข้มแข็ง • และสนับสนุนการมีส่วนร่วม • (เปิดพื้นที่ทางสังคม – สนับสนุน) • เครือข่ายผู้ปกครอง • บทบาทท้องถิ่น 3 1 ที่สำคัญ ..ปรับทัศนะคนทำงาน + ปรับระบบงาน
ในการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืนในการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน ทางออก .. สร้างเจ้าภาพใหม่ ๆ ให้เข้ามาร่วมกันแก้ปัญหา เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน .. อปท.-ชุมชน ภาครัฐ ระยะเวลา
กับ การพัฒนาศักยภาพภาคี - เครือข่ายคนทำงาน แกนนำ 1.สร้าง การเรียนรู้ Learning process 2.เคลื่อน กระบวนการกลุ่ม Group dynamic ยกระดับ Re-form ได้งาน Performing ลงตัว Norming บทบาทแกนนำ (คุณเอื้ออำนวย) ระดมความคิด Storming ก่อตัว forming
กับ การพัฒนาศักยภาพภาคี - เครือข่ายคนทำงาน แกนนำ อปท.-ชุมชน ภาครัฐ ระยะเวลา ยกระดับ Re-form 1.สร้าง การเรียนรู้ Learning process 2.เคลื่อน กระบวนการกลุ่ม Group dynamic ได้งาน Performing ลงตัว Norming ระดมความคิด Storming บทบาทแกนนำ (คุณเอื้ออำนวย) ก่อตัว forming
ชีวิตของ.. แป้ง กับ ฟลุค และ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ หน่วยงานรัฐ สมศักดิ์ แรงงาน สมศรี พยาบาล สมเกียรติ พมจ./พัฒนาชุมชน สมบัติ ครู ชุมชน โรงงาน โรงพยาบาล โรงเรียน ดญ.แป้ง อยู่ที่โรงเรียน ไม่ได้เรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา อย่างรอบด้าน แป้ง ตั้งครรภ์ ..พร้อมกับอาการผิดปกติจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ฟลุค.. เป็นหัวโจก ในโรงงาน มีแฟนหลายคน สองคน.. แอบปิ๊งกัน ในสวนหลังชุมชน
หน่วยงานรัฐ สมศักดิ์ แรงงาน สมศรี พยาบาล สมเกียรติ พมจ./พัฒนาชุมชน สมบัติ ครู ชุมชน โรงงาน โรงพยาบาล โรงเรียน ใครจะเป็นคนเชื่อมร้อย เรื่องราวของ ดญ.แป้ง .. เพื่อชวนให้ เจ้าหน้าที่จากหลากหลายหน่วยงานได้มาหาทางออกร่วมกัน .. รวมทั้ง .. ใครจะทำให้เกิดการแก้ปัญหาของชุมชนอย่างยั่งยืน ??
เรื่องของ แดง กับ เขียว นายแดง นายเขียว กลับจากอบรม ตั้งคณะทำงาน แก้ปัญหา .. กลับจากอบรม ไปค้นหาแนวร่วม คนทำงานในชุมชน ครู อปท เข้าถึง เยาวชน แกนนำ ร่วมกันหาข้อมูลสถานการณ์ (-) ต้นทุนที่มีอยู่ (+) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ (มุมมอง/ทัศนะ) วิเคราะห์และวางแนวทางแก้ไข • เรียกประชุมชี้แจง • ร่วมกันหาปัญหา • กำหนด-มอบหมายหน้าที่ • ให้ผู้ที่เข้าร่วมประชุม • ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ เข้าใจ ผลลัพธ์ ร่วมดำเนินการ เรียนรู้และพัฒนา สรุปบทเรียน ไปด้วยกัน พัฒนา ผลลัพธ์
การรับรู้ของคน 10% การอ่าน 20% การฟัง การอ่าน การฟัง รับรู้จากการฟัง เห็น พูด ดูภาพ-ภาพยนตร์ 30% สิ่งที่เราเห็น รับรู้จากการ มองเห็น ชมสาธิต - ไปดูงาน 50% เห็น + ฟัง 70%สิ่งที่เราพูด ร่วมอภิปราย + แสดงความคิดเห็น จากการมี ส่วนร่วม ได้แสดง / อยู่ในสถานการณ์จำลอง ลงมือทำจริง สรุปผล + นำเสนอผล (เล่าต่อ) 90% สิ่งที่เรา ได้ลงมือทำ
วงจรการเรียนรู้ ..แบบมีส่วนร่วม(Participatory Learning : PL) สถานการณ์ และประสบการณ์จริง โลกภายนอก โลกภายใน • อยากกลับไปทำ .. Doing • ปรับวิธีการทำงานใหม่ • ศึกษาเพิ่มเติม ฯลฯ • ชวนสรุปfeeling-thinking • ความประทับใจ(คุณค่าใหม่) • สิ่งที่ได้เรียนรู้ (วิธีคิดใหม่) • ชวนคุย + ชวนคิด • ชื่นชมจุดเด่น ไม่เน้นหาคน ตกเกณฑ์ • เริ่มจากความรู้ใน ตัวตน ก่อน ตำรา • เสวนามากกว่าเอาชนะด้วยจุดยืน • ไม่เป็นทางการ (แนวราบ>แนวดิ่ง)
สมอง .. กับ การเรียนรู้ในสภาวะต่าง ๆ สภาวะปิดกั้น .. • ในสภาวะคับขัน/ระวังตัว • สมองจะหยุดการเรียนรู้ • เพื่อเตรียมพร้อม เช่น • สถานการณ์ฉุกเฉิน • ความสัมพันธ์แนวดิ่ง • บรรยากาศด้านลบ • ถูกกดดัน ตำหนิ • บีบคั้น • อยู่ในสภาวะเปิดใจ/พร้อม • รู้สึกสนุก • บรรยากาศสบายๆ • สัมพันธ์แนวราบ • มีการกระตุ้นด้านบวก • มีคนรับฟัง สภาวะเรียนรู้..
ภายใต้ทรัพยากรที่จำกัดภายใต้ทรัพยากรที่จำกัด (งบประมาณ คน เวลา) เราจะเลือก .. รดน้ำต้นใด
ผู้ป่วย (เข้าถึงยาต้าน ,มีคุณภาพชีวิตที่ดี) ผู้ติดเชื้อรายใหม่ ลดลง .. % พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ลดลง , การใช้ถุงยาง .. %, ค่านิยม , สิ่งแวดล้อมที่เสี่ยง ลดลง .. % ระดับผลลัพธ์ เป้าหมาย ระดับภาคี คนทำงาน โรง พยาบาล ครอบครัว ชุมชน คน-องค์กร ต่าง ๆ โรงเรียน สิ่งที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นกับภาคี สื่อสารด้านบวก กับบุครหลาน เกิดต้นแบบ .. กระจายถุงยาง สอนเพศศึกษา ได้รอบด้าน บริการมาตรฐาน มีบริการปรึกษา กระจายถถุงยาง อปท., วัด , โรงงาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กลุ่มเยาวชน สื่อท้องถิ่น ฯลฯ มีแผนยุทธศาสตร์ (แผนบูรณาการ) ระดับอำเภอ มีแผนงาน - โครงการระดับหน่วยงาน แผนชุมชน-แผนงบประมาณ (อปท.) โครงสร้าง กลไก สนับสนุน คณะทำงานที่เกาะติดในแต่ละเรื่อง พัฒนาศักยภาพทีมงาน เวที..สรุปบทเรียน + แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฯลฯ
สิ่งที่ผู้ใหญ่ .. มักจะทำ กับ สิ่งที่ควรทำ • สิ่งที่ผู้ใหญ่มักจะทำ • คือ การควบคุม(control) ? • ผ่านการออกกฎเกณฑ์ • และ ข้อบังคับต่างๆ • สิ่งที่ผู้ใหญ่ควรจะทำ ? • การสร้างค่านิยมที่ดีของชุมชน • ปลูกฝังคุณค่า ค่านิยมให้เยาวชน • เช่น เป็นแบบอย่าง ส่งเสริมเรื่องดีๆ ทำไม .. ผู้ใหญ่จึงคิดแต่จะสร้างกฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ?
จังหวะก้าว .. กับเรื่องเหล้า ในชุมชน ทบทวน เรียนรู้ มุ่งมั่น .. สานต่อ เชค ชวนกันขยับ .. ศพแรก .. กับแรงต้าน ช้อน ตั้งวง ค้นหาสร้างแกนนำ (ชวนคุย – ชวนคิด) ชักชวน-ชื่นชม จุดชนวนคิด พบปะ , รวบรวมข้อมูล ชงข้อมูล 7ช. เชื่อม + ขยายวงแนวร่วม
เก็บตก .. บทเรียน 1. สร้างความตระหนัก และ เข้าใจปัญหาร่วมกัน - เชิงรุกเข้าไปรับฟัง พูดคุยตั้งวงเล็ก จนเห็นพลังของการร่วมใจ - ใช้ข้อมูล..ใกล้ตัว-เรื่องราวที่เกิดขึ้นในชุมชน (มีตัวละคร) - พูดคุย..ด้วยความสร้างสรร ชื่นชม (สร้างพลัง..) .. แนวราบ - มองหาต้นทุน ศักยภาพของคนในชุมชน (ชุมชนไม่ใช่แก้วเปล่า) • “12ปีที่นั่งลงฟัง .. ได้สร้างต้นทุน และ พลังให้กับคนในชุมชน” • ผู้ใหญ่ โชคชัย อ.บางสะพาน ประจวบฯ
เก็บตก .. บทเรียน • 2. ลงมือปฏิบัติ .. และ เรียนรู้ไปด้วยกัน • - การเรียนรู้ที่มีพลัง .. เรียนรู้จากประสบการณ์จริง • - ทุกคนมีส่วนร่วม – แลกเปลี่ยน • - ความรู้ในตัวคน .. มีความสำคัญ อย่ามองข้าม • เริ่มจากใจ .. ความคิดใหม่ ๆ จะเกิดตามมา • เข้าใจ + เข้าถึง จึงจะ พัฒนา
มุมมองใหม่ ๆ .. ในการทำงานเอดส์ • แก้ที่ปลายเหตุ ขยับไปแก้ที่รากของปัญหา • แก้เป็นเรื่องๆ ขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร์ • กำหนดเป้าหมาย และ กลยุทธ์ในการทำงาน • จากทำเป็นช่วงๆ ไม่ต่อเนื่อง ..สร้าง road map • ลงไปดำเนินการเอง แสวงหาเจ้าภาพใหม่ๆ • ค้นหาแนวร่วม (เข้าถึง) และ เชื่อมโยงคนทำงาน • แลกเปลี่ยนมุมมอง ทัศนะ (สร้างความเข้าใจร่วมกัน) • พัฒนา..แก้ปัญหา และ สร้างการเรียนรู้ เติบโตไปด้วยกัน
หลักคิด .. การพัฒนา • สร้าง-ส่งเสริมสิ่งดี ๆ เรื่องเล็ก ให้มากๆ • จนสิ่งไม่ดีหายไป • พัฒนา .. เกิดจากการเชื่อมโยง • แลกเปลี่ยนเรื่องดี ๆ • พัฒนา .. เกิดจากการเรียนรู้ • เรียนรู้จากการทำกิจกรรม - สร้างรูปธรรมร่วมกัน • บนสัมพันธภาพใหม่ ๆ • สร้างค่านิยมใหม่ ๆ ร่วมกัน
(๔) ภาคี / ภาคสังคม เข้ามามีส่วนร่วม (๖) มีความเข้มแข็ง การเกาะติด และ เรียนรู้ ขยายวงต่อเนื่อง (๕) มียุทธศาสตร์ การขับเคลื่อน ( เช่น แผนชุมชน) (๑) แกนนำมีศักยภาพ มุ่งมั่น เกาะติด สถานการณ์ (๒) ผู้นำ/นโยบาย ที่เอื้อ-สนับสนุน จากท้องถิ่น (๓) มีกระบวนการ พัฒนาแกนนำ/ทีม ปัญหา - สาเหตุ เงื่อนไขสำคัญ..ที่นำ ไปสู่ความสำเร็จ ทำอย่างไรจะทำให้เกิดปัจจัย / เงื่อนไขเหล่านี้ได้(๓๐ นาที)
(๔) ภาคี / ภาคสังคม เข้ามามีส่วนร่วม (๖) พัฒนาความเข้มแข็ง อย่างต่อเนื่อง สถานการณ์ (๑) แกนนำ มีศักยภาพ (๕) มียุทธศาสตร์ การขับเคลื่อน (๒) ผู้นำ/นโยบาย ที่เอื้อ+สนับสนุน ท้องถิ่น-รัฐ (๓) พัฒนา แกนนำ/ทีม ปัญหา - สาเหตุ เงื่อนไขสำคัญ..ที่นำ ไปสู่ความสำเร็จ แนวทาง / โครงการ / กิจกรรม ที่จะสนับสนุน + ทำให้เกิด .. เงื่อนไขสำคัญ
สถานการณ์(ภูมิใจ) เยาวชนตระหนักลุกขึ้นมาขยับเอง เริ่มมีรวมกลุ่ม มีเครือข่ายทั้งเป็น-ไม่เป็นทางการ มีศักยภาพมาก กล้าแสดงออก มีส่วนร่วม และ มีการบูรณาการ จากหลายภาคส่วน สถานการณ์(ห่วงใย) มีปัจจัยเสี่ยง อยู่ใกล้ตัวเด็ก มีพฤติกรรมเสี่ยง เช่น เพศสัมพันธ์ ขาดต้นแบบที่ดี ขาดการส่งเสริม , ศีลธรรม ยังขาดการทำงานที่ต่อเนื่อง ยั่งยืน รากปัญหา สื่อ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม ครอบครัว .. มีช่องว่างระหว่าง ผู้ปกครองกับ - เยาวชน .. เลี้ยงลูกด้วยเงิน / ตู้เย็น ไม่มีเวลาแลกเปลี่ยน ขาดการสื่อสารด้านบวก .. กระตุ้นคุณค่าตัวเอง เยาวชน .. ไม่มีภูมิคุ้มกัน ที่รู้เท่าทันสื่อ บทเรียน .. ทบทวน ทายท้า
สิ่งที่คาดหวัง มีการปรับเปลี่ยนเปลี่ยนพฤติกรรม ลดความเสี่ยงลดลง ท้องถิ่น..มาเป็นเจ้าภาพ (บอกบุญ) เชื่อมภาคีให้เข้ามาร่วมกันการแก้ปัญหา มีการแก้ที่รากปัญหา อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน มีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม อย่างรอบด้าน เด็ก ครู ผู้ปกครอง ชุมชน สิ่งที่ดำเนินการอยู่ มีการบูรณาการทำงาน สร้างแกน-สร้างเครือข่าย ยังมีกลุ่มอื่นๆ อีกหลายกลุ่มที่ถูกมองข้าม ยังขยับไปได้ช้ากว่าสภาพปัญหา .. ไปไม่ถึงรากปัญหา กระบวนการที่ดำเนินการยังขาดการกระตุ้นให้เด็กคิดต่อได้ บทเรียน .. ทบทวน ทายท้า
มองหาคนมีแวว .. คิดถึงใคร ? คนที่ชุมชนยอมรับ , มีจิตอาสา มักเป็นผู้นำเวลามีกิจกรรม (หัวโจก) เน้น.. สมัครใจ มีใจ มีลักษณะตรงกับเรื่องที่จะขับเคลื่อน เช่น กลุ่มเยาวชน พระ ครู มีต้นทุนเดิม (เรื่องดีๆ) ชวนต่อยอด เพิ่มศักยภาพ อบรม ศึกษาดูงาน จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้สร้างพลัง ให้เล่าเรื่องที่อยากทำ (ให้เกิดความรู้สึกว่าตัวเองมีคุณค่า) เน้น..การปรับทัศนะ มุมมอง (ที่สำคัญระวังอย่าให้แกนนำเป็นนำเต็มแก้ว) สนับสนุน.. ให้มีอิสระ มีเวทีแสดงออก ต่อยอด .. เรื่องดีๆที่ทำอยู่ สร้างเครือข่าย สนับสนุนงบประมาณ เชิดชูเกียรติ .. ใบประกาศ ทำเนียบผู้นำ ส่งรายชื่อให้หมู่บ้านอื่น ๆ รับทราบ อย่าลืม .. โน้มแน้วให้ผู้นำเห็นความสำคัญของการสร้างคน(แกนนำ) หาจุดขาย.. เช่น ส่งเสริมให้เป็นหัวคะแนนได้ (๑) พัฒนาแกนนำมีศักยภาพ
ผู้นำ : ตระหนัก รู้บทบาท หน้าที่ ให้ผู้บริหารมีส่วนร่วมโดยตรง เน้นปรับทัศนะ/มุมมอง ผ่านกระบวนการ ทัศนศึกษา ดูงาน เรียนรู้จากต้นแบบที่อื่น ๆ มีข้อมูลและนำเสนอสถานการณ์ ผลกระทบให้รับรู้อย่างต่อเนื่อง การเตรียมข้อมูล มีการสำรวจ ทั้งด้านความเสี่ยง การเจ็บป่วย (ไม่ต้องเริ่มจากเอดส์ก็ได้) เน้น..การนำเสนอในเรื่องที่ใกล้ตัว มีข้อมูลที่สะท้อนปัญหาได้ชัด เช่น ผลกระทบเบี้ยยังชีพ มีการเตรียมวงเล็ก (แกนนำ) ให้เข้าใจตรงกันก่อนเสนอวงใหญ่ ให้แกนนำ / ผู้ได้รับผลกระทบเข้ามามีส่วนร่วมนำเสนอโดยตรง มีการเสนอความก้าวหน้า และผลการดำเนินงาน แรงจูงใจ มีนโยบายสั่งการ (ทั้งระดับบนและล่าง) มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เปรียบเทียบ benchmark ผลงานระหว่างกัน ทำให้เรื่องทางสังคมเป็นนโยบายที่หาเสียงได้ มิเฉพาะเรื่องทางโครงสร้าง (๒) ผู้นำท้องถิ่น ..สนับสนุน
กระบวนการพัฒนา รูปแบบฝึกอบรม.. สร้างความตระหนัก..เข้าใจปัญหาของตัวเอง จะแก้อย่างไร .. เติมความรู้ในส่วนขาด (ไม่เหมือนกัน) เชิงปฎิบัติการ มีส่วนร่วม ดูงาน เรียนรู้จากต้นแบบที่อื่น ๆ เน้นปรับเปลี่ยนทัศนะที่สำคัญ ได้แก่ การแก้ที่รากปัญหา การสร้างเจ้าภาพใหม่ ๆ มีการจัดทำแผนดำเนินงาน มีการสนับสนุนให้ไปดำเนินงาน มีกลไกติดตาม สนับสนุน สร้างการเรียนรู้ในระหว่างดำเนินงาน มีการสรุปบทเรียน พัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีเวทีพบปะนำเสนอผลงาน ได้ทบทวน แลกเปลี่ยนสรุปบทเรียน กลับไปพัฒนาต่อยอด (๓) กระบวนการพัฒนาภาคีเครือข่าย
เริ่มจากต้นทุนทางสังคมเริ่มจากต้นทุนทางสังคม บุคคล (ผู้นำทางการ – ธรรมชาติ) ปราชญ์ชาวบ้าน ? องค์ความรู้ของชุมชน .. ที่ตกผลึก เช่น OTOP เศรษฐกิจ วัฒนธรรม เน้นความสัมพันธ์เชิงเครือข่าย แนวราบ / สร้างทีม ให้เกาะติดปัญหา และ ต่อเนื่อง สร้างความเป็นเจ้าภาพ , สร้าง champion ในแต่ละเรื่อง ถ่ายทอดความรู้ .. ไปสู่ทายาท .. รุ่นลูก รุ่นหลาน เปิดพื้นที่ใหม่ ๆ ของการมีส่วนร่วม .. มีกลไกสนับสนุน สร้างแรงจูงใจ + มีงบประมาณ รายได้ (๔) การสร้างภาคีเครือข่าย..ภาคประชาสังคม
มีนโยบาย / แผนงานที่ชัดเจน ทั้งจากส่วนกลาง และ ระดับพื้นที่ แปลงนโยบายเป็นแผน ทั้งระยะสั้น และ ระยะยาว การมีส่วนร่วม .. จัดเวทีประชาคม การมีแผนทั้งระยะสั้น-ระยะยาว..อย่างต่อเนื่อง (Plan Do Check Act : PDCA) มีการพัฒนาหลักสูตร + สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้บริหาร , แกนนำ และภาคีสำคัญ สร้างสื่อที่มีประสิทธิภาพในการปรับเปลี่ยน เช่น สื่อโทรทัศน์ สื่อท้องถิ่น ชุมชน บุคคล electronic การประกวดสื่อ เน้นข้อมูลและปรับวิธีนำเสนอให้เข้าใจ (๕) มียุทธศาสตร์ ..ในการขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบ
เน้น..สร้างภูมิคุ้มกันชีวิต (ทักษะชีวิต..ให้คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น) เพิ่มการทำงานกับ .. ครอบครัว ชุมชน มีการทำงานแนวราบ สร้างนวตกรรมใหม่ ๆ สอดแทรกให้สอดคล้องกับวัฒนธรรม , ปฎิทินงานของชุมชน สร้างแกนนำ / เครือข่ายใหม่ๆ เช่น DJ น้อย สร้างคนต้นแบบ สร้างการเรียนรู้จากการทำงาน ทบทวน นำข้อมูลกลับสู่ชุมชน มีกลไกสนับสนุน เช่น มีโครงสร้าง ศ.ประสานงาน มีแรงจูงใจ .. ประกวดรางวัล มีงบประมาณ , สวัสดิการคณะทำงาน (๖) มีความเข้มแข็ง เกาะติด เรียนรู้.. อย่างต่อเนื่อง
วิถีชีวิตวัยรุ่นในปัจจุบัน วิถีชีวิตวัยรุ่นในปัจจุบัน วัยรุ่นเป็นปัญหา หรือ วัยรุ่นกำลังเผชิญปัญหา และความท้าทาย?
ธรรมชาติของวัยรุ่น • รักสวยรักงาม • ติดเพื่อน • ต้องการการยอมรับ • สนใจคนพิเศษ • มีความรัก • มีความต้องการทางเพศ • มีฮีโร่ • ชอบท้าทาย • เป็นตัวของตัวเอง • อยากลอง • ไม่ฟังผู้ใหญ่ • ชอบแหกกฎ • มีความหวัง/ความฝัน • เลียนแบบ • ฯลฯ
ธรรมชาติวัยรุ่น - เหมือนเดิม - วัยรุ่น..กำลังเผชิญอะไร ยุคสมัย/สภาพแวดล้อม - เปลี่ยนไป - • สถานบันเทิงมากขึ้น • การเลี้ยงดูของครอบครัว • โอกาสการเข้าถึงสื่อ/รับรู้ วัฒนธรรม/ค่านิยมอื่นๆ ง่ายขึ้น • โครงสร้างครอบครัว/ชุมชน/สังคมเปลี่ยน • การกำกับทางสังคมอ่อนแอลง • นโยบายรัฐ ที่ส่งผล การดำเนินชีวิต • กระบวนการหล่อหลอมเด็กที่ไม่ทันกับการเปลี่ยนแปลง • ระบบคุณค่า เปลี่ยน • กล้าแสดงออกมากขึ้น • มีวิธีเรียกร้องความสนใจที่แตกต่าง • ความสามารถ/ช่องทางในการเรียนรู้มากขึ้น
ปรากฎการณ์ที่เห็น แสดงออกมากขึ้น รุนแรงมากขึ้น ที่เที่ยวมากขึ้น ไร้สาระมากขึ้น นิยมวัตถุ อะไรที่ทำให้เด็กมีวิถีชีวิตแบบนี้ • วัยรุ่นสร้างปัญหาให้สังคม • สังคม กระทำ กับวัยรุ่นอย่างไร ? เด็กเป็นปัญหา หรือ เด็กเผชิญปัญหา
ผลด้านลบของสุขภาพทางเพศที่เกิดขึ้นในกลุ่มวัยรุ่นผลด้านลบของสุขภาพทางเพศที่เกิดขึ้นในกลุ่มวัยรุ่น • การตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม • การทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย • การติดโรคทางเพศสัมพันธ์ • การติดเชื้อเอชไอวี • การถูกละเมิด และใช้ความรุนแรงทางเพศ • การใช้ความรุนแรงเมื่อพบความผิดหวังในความสัมพันธ์
จากเอดส์..สู่เพศศึกษา • บทเรียนจากการทำงานด้านเอดส์ในกลุ่มวัยรุ่น • “รู้ว่าต้องใช้ถุงยาง แต่ไม่รู้จะบอกแฟนยังไง กลัวเขาหาว่าดูถูก” • “คิดว่าแค่ไปเที่ยวด้วยกัน แต่แล้วก็เลยได้กัน แฟนซื้อยามาให้กินหลังจากนั้น” • วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุน้อย • ไม่อยากมีเพศสัมพันธ์ แต่ไม่รู้จะบอกอย่างไร • รู้วิธีป้องกันแต่ไม่กล้าบอก ไม่กล้าใช้ ตั้งครรภ์โดยไม่พร้อม • ทัศนะทางเพศเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการสื่อสารกับคู่เพื่อหาวิธีป้องกันการตั้งครรภ์และการติดเชื้อเอชไอวี • ข้อมูลที่ไม่รอบด้าน การส่งต่อความเชื่อในเรื่องเพศ การให้ทางเลือกสำเร็จรูป
ความต้องการของเยาวชน*ความต้องการของเยาวชน* • ข้อมูลความรู้อย่างรอบด้าน และทัศนคติที่ก่อให้เกิด สุขภาวะ • บริการที่เป็นมิตร สอดคล้องกับความต้องการ • ทักษะการดำเนินชีวิต การจัดการ และการแก้ไขสถานการณ์/ปัญหา • สภาพแวดล้อม/สังคมที่ปลอดภัย และเอื้อต่อการ พัฒนาศักยภาพ (บ้าน, โรงเรียน, ชุมชน) Framework for Addressing Adolescent Needs (WHO/UNICEF/UNFPA)
“..เราคงแยกไม่ได้หรอกว่าใครเสี่ยง เราควรสอนให้เยาวชนทุกคนป้องกันตนเองจะดีกว่า...” เยาวชนคนหนึ่งให้ความเห็น เวทีเพศศึกษาเพื่อเยาวชนครั้งที่ ๑ ตุลาคม ๔๘ หาคนผิด มากกว่า หาสาเหตุ (ขาดคำอธิบาย) ห้าม มากกว่าหาคำมาอธิบาย ให้เกิดการเรียนรู้การพูดคุย
แนวคิดการพัฒนาเยาวชนแบบ Positive Youth DevelopmenT * • ไม่ใช่แค่การป้องกันปัญหา หรือการจัดการ แก้ไขเฉพาะปัญหา การปัดเป่า บรรเทาผลร้ายของพฤติกรรมที่เป็นอันตราย แต่เน้นการพัฒนาแบบองค์รวม(เน้นการมีสุขภาวะ ไม่ใช่เพียงการแก้ปัญหา เช่น ความเสี่ยงต่อสุขภาพ) * www.ncsl.org/programs/cyf/positiveyouth.htm
แนวคิดการพัฒนาเยาวชนแบบ Positive Youth DevelopmenT * • ไม่ใช่การจัดการปัญหากับเด็กกลุ่มเสี่ยง/ กลุ่มเด็กมีปัญหา แต่เป็นการสร้างการเรียนรู้ทางสังคมให้ “เยาวชนทุกคน” โดยเยาวชนเป็นส่วนหนึ่งของการแก้ปัญหา และเชื่อมโยง เยาวชนกับการพัฒนาความเป็นไปในสังคม * www.ncsl.org/programs/cyf/positiveyouth.htm
แนวคิดการพัฒนาเยาวชนแบบ Positive Youth DevelopmenT * แนวคิดนี้ ไม่ได้มุ่งที่การปกป้อง หลีกเลี่ยง ห้ามปราม ไม่ให้เยาวชนกล้ำกลายบริบทความเสี่ยง แต่มุ่งไปที่การหาทางให้เยาวชนได้เข้าร่วม เรียนรู้ โดยเปิดทุกโอกาสอย่างกว้างขวาง และมุ่งสร้างความสามารถในการปรับตัว และอยู่รอดได้อย่างมีสุขภาวะ * www.ncsl.org/programs/cyf/positiveyouth.htm
การทำให้เยาวชนได้พัฒนาอย่างเต็มศักยภาพตามแนวคิด Positive Youth DevelopmenT * • เยาวชนต้องการที่จะได้รับความปลอดภัย มีสิ่งยึดเหนี่ยว • เยาวชนต้องการมีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่ง และได้รับการยอมรับ • เยาวชนต้องการรู้สึกถึงคุณค่าในตัวเอง และสามารถแบ่งปันกับผู้อื่น • เยาวชนต้องการรู้จักตัวเอง สามารถสะท้อน ประเมินสิ่งที่ตนคิด รู้สึก หรือกระทำ • เยาวชนต้องการเป็นอิสระ พึ่งตนเอง และควบคุมชีวิตตนเองได้ • เยาวชนต้องการใกล้ชิด หรือมีสัมพันธภาพกับกับผู้ใหญ่ในชีวิตที่ใส่ใจ • เยาวชนต้องการพัฒนาทักษะให้มีความสามารถในการแก้ไขปัญหา จัดการและพัฒนาชีวิต * www.ncsl.org/programs/cyf/positiveyouth.htm
แนวคิดหลักเพศศึกษา ๖ ด้าน*: ๑. พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development) • สัมพันธภาพ (Relationship) • ทักษะส่วนบุคคล (Personal Skills) • พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior) • สุขภาพทางเพศ (Sexual Health) • สังคมและวัฒนธรรม (Social and Culture) แนวทางการให้การศึกษาเรื่อง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา”, กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓และ A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force
เป้าหมายเพศศึกษา (Sexuality Education): การส่งเสริมให้วัยรุ่นได้เรียนรู้ตนเอง เรียนรู้ที่จะสร้างและรักษาความสัมพันธ์กับคนอื่นๆ เป็นสมาชิกที่มีคุณภาพของสังคม โดยมีสุขภาพทางเพศและคุณภาพชีวิตที่ดี และสามารถคิด วิเคราะห์ เท่าทัน สามารถเผชิญจัดการการดำเนินชีวิตอย่างรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
หลัก “การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่”(Adult Learning) • รู้สึกสบาย/ปลอดภัย กับบรรยากาศการเรียนรู้ (Safety) • ได้รับการเคารพ (Respect) • มีความเกี่ยวข้องกับตัวเอง (Relevancy) • เห็นประโยชน์ และสามารถนำไปใช้ได้ (Immediacy) • มีส่วนร่วมในการเรียนรู้(Engagement) • รู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ (Inclusion)
กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ (Experiential Learning) ต้นไม้ ..ทบทวน ทายท้า Do/Experience ทำกิจกรรม/ มีประสบการณ์ร่วม แลกเปลี่ยน สรุป นำเสนอ Reflect สะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ Apply ประยุกต์ใช้ เติมข้อมูลใหม่ Analyze/Synthesize คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์/สรุป Gallery Walk/