1 / 11

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร. เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิจัยทางด้านการแพทย์ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกองทัพบกไทยและกองทัพบกสหรัฐอเมริกา. “ …probably the most sophisticated diagnostic and research laboratory in all of Southeast Asia. ” U.S. Institute of Medicine report on DoD-GEIS, 2001.

gardenia
Download Presentation

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหารสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหาร เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิจัยทางด้านการแพทย์ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกองทัพบกไทยและกองทัพบกสหรัฐอเมริกา “…probably the most sophisticated diagnostic and research laboratory in all of Southeast Asia.” U.S. Institute of Medicine report on DoD-GEIS, 2001

  2. งานค้นคว้าวิจัยหลักๆที่เริ่มต้นพัฒนาโดย AFRIMS • พัฒนาวัคซีนป้องกันเยื่อหุ้มสมองอักเสบ JE • กำลังศึกษาพัฒนาวัคซีนป้องกันไข้เลือดออก • กำลังศึกษาพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคเอดส์ • ศึกษาและสำรวจการดื้อยาของโรคอุจจาระร่วง • พัฒนายารักษามาลาเรีย เช่น ยา mefloquine, tetracycline, new artemisinins และสำรวจการดื้อยาของโรคมาลาเรีย • ศึกษาชีววิทยาของยุงและแมลงต่างๆ • ศึกษาโรคติดต่อที่กลับมาเกิดขึ้นใหม่ (emerging Diseases)

  3. Global Emerging Infectious Diseases Surveillance (GEIS)โครงการศึกษาอุบัติการณ์ของโรคติดต่อที่กลับมาเป็นปัญหา • Emerging Diseases คืออะไร โรคที่เกิดขึ้นใหม่ โรคที่คาดไว้ต่ำกว่าความเป็นจริง โรคที่กลับมาเป็นปัญหาใหม่ บ่อยๆที่มาจากปัญหาการดื้อยา เช่น วัณโรค และโรคมาลาเรียฟัลซิฟารัม • โครงการ GEIS กระทรวงกลาโหม ที่ AFRIMS การศึกษาเรื่องสาเหตุของไข้ที่อำเภอสังขละบุรี การดื้อยามาลาเรีย การดื้อยาของโรคอุจจาระร่วง การร่วมมือในการศึกษากับโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหมไทย การเฝ้าระวังการระบาดของโรคต่างๆ

  4. Summary of Presentations • Fever Study • Overview Dr. Scott Miller • Specific causes of fever Dr. Mark Fukuda • Clinical Presentations Nichapat U-Thaimongkol • Leptospirosis Dr. Ruth Ellis • Rickettsial Illnesses Dr. Scott Miller • Diarrhea Study Dr. Ladaporn Bodhidatta • Malaria Drug Resistance Dr. Scott Miller • New Directions for Public Health Dr.Krisada Jongsakul and Dr. Mark Fukuda

  5. การศึกษาเรื่องการเจ็บป่วยด้วยเรื่องไข้ของประชากรผู้ใหญ่ ณ อำเภอสังขละบุรีSurveillance of Febrile Illnesses of Adults in Sangkhlaburi District ระหว่างปี ๒๕๔๒-๒๕๔๖ โดยแผนกภูมิคุ้มกันและอายุรศาสตร์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ทหารDepartment of Immunology and Medicine AFRIMS Dr. R. Scott Miller, M.D.

  6. ความเป็นมา • AFRIMS เริ่มทำการศึกษาเรื่องรูปแบบของการระบาดและการดื้อยาของโรคมาลาเรีย ที่อำเภอสังขละบุรีตั้งแต่ปี ๒๕๓๘ • ทำการศึกษาการใช้ยา azithromycin: • เพื่อป้องกันการติดเชื้อมาลาเรีย ในปี ๒๕๓๙ • เพื่อใช้รักษามาลาเรียชนิดฟัสซิฟารัมร่วมกับยาควินิน ในปี ๒๕๔๓-๒๕๔๔ • เริ่มทำการศึกษาร่วมกับโรงพยาบาลคริสเตียนแม่น้ำแควน้อย • อะไรคือสาเหตุของไข้ในผู้ป่วยอีกประมาณ 70% ที่มารับการรักษา

  7. วัตถุประสงค์ • เพื่อหาสาเหตุที่เฉพาะเจาะจงของการเจ็บป่วยด้วยเรื่องไข้ในผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลคริสเตียนแม่น้ำแควน้อย • เพื่อแยกเชื้อที่เป็นสาเหตุทั้งกลุ่ม rickettsial และ ehrlichial • เพื่อดูรูปแบบการดื้อยาของเชื้อโรคอุจจาระร่วงและไข้ไทฟอยด์ • เพื่อหาอุบัติการณ์ของเชื้อ arboviruses ในผู้ใหญ่ • ประเมินอุบัติการณ์ของการเจ็บป่วยนี้โดยการตรวจทางน้ำเหลืองในประชากรท้องถิ่น • ประเมินต้นแบบการทดสอบอย่างรวดเร็วทางห้องปฏิบัติการของกลุ่มผู้ป่วยด้วยเรื่องไข้ที่ไม่สามารถหาสาเหตุได้ เปรียบเทียบกับการตรวจด้วยวิธีมาตรฐาน • การศึกษานี้ได้รับการอนุมัติให้ดำเนินการศึกษาได้คณะกรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในคน กระทรวงสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว

  8. วิธีดำเนินการศึกษา • นัดผู้ป่วยกลับมาติดตามผลประมาณ ๓-๔ สัปดาห์ หรือแล้วแต่แพทย์ผู้ให้การรักษาอาจนัดมาก่อนก็ได้ • มีการตรวจร่างกายและซักประวัติเพิ่มเติม • ทำการเจาะเลือดเพิ่มเพื่อ: • ตรวจจำนวนเม็ดเลือดขาว ความเข้มข้นเลือด และจำนวนเกล็ดเลือดซ้ำ • อาจตรวจการทำงานของตับ และไตซ้ำ ถ้าผลก่อนหน้ามีความผิดปกติ • เก็บน้ำเลือดซ้ำเพื่อตรวจเปรียบเทียบผลครั้งแรก • กลุ่มอาการไข้แบ่งโดยการใช้อาการทางคลินิกประกอบกับผลทางห้องปฏิบัติการ

  9. วิธีการศึกษาเรื่องไข้วิธีการศึกษาเรื่องไข้ • จำแนกผู้ป่วยที่เป็นอาสาสมัครเข้าร่วมในการศึกษาที่มาด้วยอาการไข้หรือมีประวัติเป็นไข้ • ดำเนินการรับเข้าเป็นอาสาสมัครด้วยความสมัครใจ • เจาะเลือดเพื่อสำหรับตรวจ: • หาเชื้อมาลาเรียโดยการทำสไลด์และตรวจด้วยวิธีแบบเร็ว • จำนวนเม็ดเลือดขาว ความเข็มข้นของเลือด และเกล็ดเลือด • การทำงานของตับ และไต • เก็บน้ำเหลืองสำหรับตรวจทางภูมิคุ้มกัน • ซักประวัติและตรวจร่างกาย • ให้การรักษาโดยแพทย์ของทางโรงพยาบาล

  10. a). fever with upper respiratory disease b). fever with lower respiratory disease c). fever with meningitis, encephalitis, or neuropathy d). fever with gastrointestinal disease e). fever with renal disease f). fever with abnormal bleeding g). fever with liver disease h). fever with anemia, leukopenia or thrombocytopenia i). fever with hepatomegaly or splenomegaly (circle) j). fever with lymphadenopathy k). fever with arthritis (mono- or polyarticular) l). fever with rash m). fever with eschar n). fever with shock o). fever with non-specific symptoms p). isolated fever without systemic symptoms q). fever with other symptoms (specified) _______________ การจำแนกกลุ่มอาการไข้

  11. การศึกษาหาอุบัติการณ์ของโรคในหมู่บ้านการศึกษาหาอุบัติการณ์ของโรคในหมู่บ้าน • ทำการศึกษาในผู้ใหญ่ที่สมัครใจเข้าร่วมในการศึกษา โดย ศึกษาในช่วงปลายฤดูแล้งและปลายฤดูฝนทุก ๖ เดือน ช่วงปี ๒๕๔๒-๒๕๔๔ (สองรอบ) เก็บตัวอย่างน้ำเหลืองและตรวจหามาลาเรีย - ได้อาสาสมัครจาก ๓ หมู่บ้าน บริเวณรอบๆโรงพยาบาลคริสเตียนแม่น้ำแควน้อย จำนวน ๔๙๗ ราย บ้านเวียคะดี ๑๘๒ ราย บ้านมองสะเทอ ๑๗๕ ราย บ้านมองสะเทอใต้ ๑๔๐ ราย - ทำการตรวจสอบหาโรคกลุ่มริตเกตเซีย เลปโตสไปโรซิส และโรคที่เกิดจากสัตว์อื่นๆ

More Related