420 likes | 990 Views
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy. ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Theory). Classical period. Adam Smith : The Nation of Wealth ( 1776 ) David Ricardo : Principles of Political Economy ( 1817 ) John Stuart Mill : Principles of Political Economy ( 1848 ).
E N D
ทฤษฎีและนโยบายการเงินMonetary Theory and Policy ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Theory)
Classical period • Adam Smith : The Nation of Wealth ( 1776 ) • David Ricardo : Principles of Political Economy ( 1817 ) • John Stuart Mill : Principles of Political Economy ( 1848 ) • Alfred Marshall : Principles of Economics ( 1920 ) • A.C.Pigou : The Theory of Unemployment ( 1933 ) Neoclassical period
เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเท่านั้น เงินมิได้แสดงฐานะความมั่งคั่งของประเทศ ฐานะของประเทศต้องวัดด้วยปริมาณของทรัพยากรที่มีอยู่และของสินค้าและบริการที่ผลิตขึ้นมาได้ • ปัจจัยที่แท้จริงเป็นตัวกำหนดตัวแปรที่แท้จริง ปัจจัยทางการเงินไม่มีบทบาทใดๆต่อการกำหนดตัวแปรที่แท้จริง เพราะเงินทำหน้าที่สื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเท่านั้น • เศรษฐกิจดำเนินโดยเสรี ปราศจากการแทรกแซงของรัฐ
Y N 0 N1 N2 การกำหนดการจ้างงานและผลผลิต
MPL MPL N 0 N1 N2 Marginal Physical Product of Labor
Assume : ตลาดผลผลิตเป็นตลาดแข่งขันสมบูรณ์ • Marginal Cost = Marginal Revenue ( MC = MR ) • Competitive Market : MR = P • ในกรณีที่แรงงานเป็นปัจจัยเดียวที่ผันแปรได้ : MC = Marginal Labor Cost • Marginal Labor Cost = อัตราค่าแรงที่เป็นตัวเงินหารด้วยผลผลิตที่ได้เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มแรงงานหนึ่งหน่วย ( MPL )
W/P ND N 0
W/P NS N 0
Y Y N 0 W ( W / P )0 N0 W/P NS W0 (W/P)0 ND P 0 0 N0 N P0
การกำหนดระดับราคาสินค้าการกำหนดระดับราคาสินค้า • Irving Fisher ( 1911 ) – The Equation of Exchange • M : ปริมาณเงินที่มีอยู่ในระบบเศรษฐกิจ • VT : จำนวนครั้งโดยเฉลี่ยที่เงินถูกใช้จ่ายในการแลกเปลี่ยนทุกชนิด อัตราการเปลี่ยนมือของเงิน ( Turnover Rate of Money ) • PT : ดัชนีราคาของรายการแลกเปลี่ยนทุกชนิด • T : ดัชนีปริมาณของรายการแลกเปลี่ยนทุกชนิด
Y MVY P อุปทานของเงินถูกกำหนดโดยธนาคารกลาง
การกำหนดอัตราดอกเบี้ยการกำหนดอัตราดอกเบี้ย • อัตราดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นในภาวะดุลยภาพในระยะยาวถูกกำหนดโดยปัจจัยที่แท้จริงเท่านั้น ปัจจัยดังกล่าวคือ ความมัธยัสถ์ของประชาชน ( กำหนดการออมที่แท้จริง ) และผลิตภาพของทุนเป็นเครื่องกำหนดการลงทุนที่แท้จริงในระบบเศรษฐกิจ
r S r0 I 0 S0 , I0 S , I
r i S SF r0 i0 DF I S0 , I0 S , I SF , IF 0 0 SF0 , IF0 ตลาดทุน
บทบาทของเงินระยะยาว • การเพิ่มขึ้นในอุปทานของเงิน • การเพิ่มขึ้นในอุปทานของแรงงาน • การเพิ่มขึ้นในอุปสงค์ต่อแรงงาน
สรุปจากสามกรณี • การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินไม่ส่งผลต่อตัวแปรที่แท้จริง “เงินมีความเป็นกลาง” –Classical Dichotomy • ระดับการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่แท้จริงอาจส่งผลต่อตัวแปรที่เป็นตัวเงิน – บทกลับของ Classical Dichotomy ไม่เป็นจริง
บทบาทของเงินในระยะสั้นบทบาทของเงินในระยะสั้น • ในระยะสั้นเงินมีความไม่เป็นกลาง ( Money is Nonneutral ) : การเปลี่ยนแปลงในปริมาณเงินอาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรที่แท้จริงในช่วงเวลาปรับตัว เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวขึ้นๆลงๆในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เกิดวัฏจักรของธุรกิจ • กลไกโดยตรง - David Hume and Richard Cantillon • กลไกโดยอ้อม – Henry Thornton
กลไกโดยตรง • ปริมาณเงินที่ประชาชนต้องการถือกับอัตราการใช้จ่าย และกับระดับทรัพย์สินหรือรายได้เป็นความสัมพันธ์ที่มีเสถียรภาพ • ปริมาณเงินที่ถืออยู่จริงเพิ่มขึ้นเกินกว่าความต้องการ จะเกิดการใช้จ่ายส่วนเกินที่ถือครองนี้ออกไป อุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น มูลค่าที่แท้จริงของปริมาณเงินลดลง จนทำให้ปริมาณเงินที่ถืออยู่จริงเท่ากับปริมาณที่ต้องการอีกครั้ง
Y Y0 M* VY M VY P P0 P1
กลไกโดยอ้อม • อธิบายโดยการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย • ระบบธนาคารพาณิชย์ – อัตรากำไรทางพาณิชย์ ( The Rate of Mercantile Profit ) – อัตราดอกเบี้ยตามธรรมชาติ ( Natural Rate of Interest ) • สาเหตุที่เกิดความผันผวนในระบบเศรษฐกิจในระยะสั้น
ทฤษฎีและนโยบายการเงินMonetary Theory and Policy ทฤษฎีปริมาณเงิน
ทฤษฎีปริมาณเงินอย่างหยาบThe Crude Quantity Theory of Money • แนวคิดของ Jen Bodin– การเพิ่มปริมาณเงินจะทำให้ค่าของเงินลดลง ระดับราคาสูงขึ้น • David Hume – ( Of Money 1752 ) ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเงินและระดับราคาเป็นความสัมพันธ์กันโดยตรงและเป็นสัดส่วนกัน • คนต้องการเงินเพราะเงินมีอำนาจซื้อ ( ไม่ใช่เพื่อตัวมันเองหรือการสะสมมูลค่า )
ทฤษฎีปริมาณเงินของเออร์วิง ฟิชเชอร์ • สมการการแลกเปลี่ยน • ปัจจัยที่กำหนดตัวแปรต่างๆที่อยู่ในสมการแลกเปลี่ยน • รูปแบบของทฤษฎีปริมาณเงินซึ่งดัดแปลงมาจากสมการการแลกเปลี่ยน • อิทธิพลของเงินที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจในระยะสั้น
ปัจจัยที่กำหนดตัวแปรต่างๆที่อยู่ในสมการแลกเปลี่ยนปัจจัยที่กำหนดตัวแปรต่างๆที่อยู่ในสมการแลกเปลี่ยน • ปริมาณเงิน ( M ) • อัตราการหมุนเวียนของเงิน ( VT ) • นิสัยของประชาชน • ระบบการชำระเงินในสังคม • ปัจจัยอื่นๆ • ระดับราคา ( PT ) • ปริมาณของรายการแลกเปลี่ยน ( T )
รูปแบบของทฤษฎีปริมาณเงินซึ่งดัดแปลงมาจากสมการการแลกเปลี่ยนรูปแบบของทฤษฎีปริมาณเงินซึ่งดัดแปลงมาจากสมการการแลกเปลี่ยน • ทฤษฎีปริมาณเงิน : รูปแบบรายการแลกเปลี่ยน ( The Quantity Theory : The Transaction Approach ) • ทฤษฎีปริมาณเงิน : รูปแบบรายได้ ( The Quantity Theory : The Income Approach )
The Transaction Approach ( ข้อสมมติ ) • การเปลี่ยนแปลงในปริมาณเงินไม่มีผลกระทบต่ออัตราการหมุนเวียนของเงิน • การเปลี่ยนแปลงในปริมาณเงินไม่ได้มีผลกระทบต่อปริมาณของรายการแลกเปลี่ยน • ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเงินและระดับราคาเป็นไปในลักษณะที่ปริมาณเงินเป็นสาเหตุและระดับราคาเป็นผล แต่มิใช่ลักษณะความสัมพันธ์ในเชิงกลับกัน
The Income Approach ( ข้อสมมติ ) • VYมีเสถียรภาพระยะสั้น และเปลี่ยนแปลงช้าๆในระยะยาว อาจถือได้ว่าคงที่ • VYไม่ขึ้นกับ M คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินไม่ได้มีผลกระทบต่ออัตราการเปลี่ยนแปลง • ระดับดุลยภาพของผลผลิตที่แท้จริงอาจถือได้ว่าคงที่ ณ ระดับการจ้างงานเต็มที่
อิทธิพลของเงินที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจระยะสั้นอิทธิพลของเงินที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจระยะสั้น • ในระยะสั้น การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินมิได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระดับราคาและตัวแปรทางการเงินเท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อตัวแปรที่แท้จริงด้วย – วัฎจักรของธุรกิจ • ฟิชเชอร์ – วัฎจักรธุรกิจเกิดเพราะปริมาณเงินได้เบี่ยงเบนจากปริมาณที่ก่อให้เกิดดุลยภาพในระยะยาว
ปริมาณเงินเพิ่ม ( ปัจจัยภายนอก ) อุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น เงินสำรองของธนาคารเพิ่ม ระดับราคาเพิ่มขึ้น การกู้เพิ่มลงทุนเพิ่มขึ้น จ้างงานเพิ่ม ปริมาณเงินเพิ่ม ( ระลอก 2 ) คาดการณ์เกี่ยวกับเงินเฟ้อ ดอกเบี้ย ค่าแรง เพิ่ม
การเพิ่มต้นทุนสูงกว่าการเพิ่มราคาการเพิ่มต้นทุนสูงกว่าการเพิ่มราคา ธุรกิจขาดทุน ถอนเงินจากธนาคาร ปริมาณเงินลด ออม มากกว่าลงทุนที่ตั้งใจ อุปสงค์ลดลง
ภาวะดุลยภาพเริ่มต้น MVY = PY กระบวนการเปลี่ยนแปลง เมื่อปริมาณเงินเพิ่ม ภาวะดุลยภาพใหม่ M1VY = P1Y t0 t1
ทฤษฎีปริมาณเงินสำนักเคมบริดจ์The Quantity Theory: The Cash Balance Approach • ปัจจัยที่กำหนดความต้องการถือเงิน • อรรถประโยชน์ของเงิน • ลักษณะของงบประมาณ • ต้นทุนค่าเสียโอกาสของเงิน • ปัจจัยอื่นๆ • สมการความต้องการถือเงิน
ความแตกต่างของทฤษฎีปริมาณเงินของฟิชเชอร์และเคมบริดจ์ความแตกต่างของทฤษฎีปริมาณเงินของฟิชเชอร์และเคมบริดจ์ • Spending of Money ( Money on the Wing ) VS. Holding of Money ( Money Sitting ) • F – เน้นเงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ในขณะที่ C – เน้นบทบาทของเงินในเรื่องการเป็นเครื่องสะสมมูลค่าด้วย • F – เป็นลักษณะการวิเคราะห์แบบ Flow ในขณะที่ C - เป็นการวิเคราะห์แบบ Stock
F - เน้นปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการใช้จ่ายของประชาชน ในขณะที่ C - เน้นตัวแปรที่กำหนดสัดส่วนสินทรัพย์ที่ประชาชนต้องการถือในรูปตัวเงิน • F – อัตราการหมุนเวียนของเงินเป็นอิสระกับผลผลิตที่แท้จริงและไม่ขึ้นกับปริมาณเงินในระยะยาว ในขณะที่ C- ปริมาณเงินที่คนต้องการถือขึ้นกับสินทรัพย์โดยเปรียบเทียบของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่ทางการเงินด้วย
ข้อสรุปทฤษฎีปริมาณเงินข้อสรุปทฤษฎีปริมาณเงิน • ความเป็นสัดส่วนกันระหว่างปริมาณเงินกับระดับราคา ( The Proportionality of Money and Price ) • ความเป็นกลางของเงิน ( The Neutrality of Money ) • ทฤษฎีการเงินที่อธิบายการกำหนดระดับราคา ( Monetary Theory of the price Level ) • ปริมาณเงินเป็นสาเหตุให้เกิดวัฏจักรธุรกิจ ) • ความเป็นกลางของเงิน ( The Neutrality of Money ) • ทฤษฎีการเงินที่อธิบายการกำหนดระดับราคา ( Monetary Theory of the price Level ) • ปริมาณเงินเป็นสาเหตุให้เกิดวัฏจักรธุรกิจ ( The Causality of Money ) • ปริมาณงินเป็นตัวแปรภายนอก ( The Exogeneity of Money )
สรุป สมมติฐาน • ตลาดสินค้าและแรงงานเป็นตลาดที่มีการแข่งขันโดยสมบูรณ์ • การจ้างงานเต็มที่เกิดขึ้นได้เสมอ • ไม่มีผู้ใดที่ถือเงินไว้ในมือเฉยๆ • อัตราหมุนเวียนของเงินคงที่
นัยทางนโยบาย • ปริมาณเงินเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับราคาเท่านั้น • จุดมุ่งหมายของการมีเสถียรภาพในระดับราคาเกิด และการจ้างงานเต็มที่ เกิดขึ้นได้โดยดูแลให้ปริมาณเงินขยายตัวในอัตราที่สอดคล้องกับอัตราการขยายตัวของผลผลิตและความต้องการถือเงินในระยะยาว • การใช้นโยบายการเงินแบบดุลพินิจโดยการเปลี่ยนปริมาณเงินเพื่อลดความผันผวนของวัฎจักรธุรกิจจึงไม่จำเป็น • ปริมาณเงินที่มีเสถียรภาพจึงจำเป็นสำหรับการทำให้ราคามีเสถียรภาพ