html5-img
1 / 19

Soil Mechanics Laboratory

Soil Mechanics Laboratory. Lab 5: Sieve Analysis. การทดสอบหาขนาดของเม็ดดินโดยวิธีร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐาน. มาตรฐานการทดสอบ ทฤษฎีการทดสอบ การแปลผลการทดสอบ การนำไปใช้งาน. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชูศักดิ์ คีรีรัตน์. Rajamangala. Civil Engineering. University of Technology Rattanakosin.

gail-huber
Download Presentation

Soil Mechanics Laboratory

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Soil Mechanics Laboratory Lab 5: Sieve Analysis การทดสอบหาขนาดของเม็ดดินโดยวิธีร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐาน • มาตรฐานการทดสอบ • ทฤษฎีการทดสอบ • การแปลผลการทดสอบ • การนำไปใช้งาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชูศักดิ์ คีรีรัตน์ Rajamangala Civil Engineering University of Technology Rattanakosin Wang Klai Kangwong

  2. มาตรฐานการทดสอบทางวิศวกรรมปฐพีมาตรฐานการทดสอบทางวิศวกรรมปฐพี ASTM D 421-85 Particle for Dry Preparation of Soil Samples for Particle-Size Analysis and Determination of Soil Constant. ASTM D 2217-85 Particle for Wet Preparation of Soil Samples for Particle-Size Analysis and Determination of Soil Constant. ASTM D 422-85 Standard Test Method of Particle Size Analysis of Soils

  3. ทฤษฎีการทดสอบ การร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐาน เป็นการทดสอบหาขนาดและการกระจายตัวของเม็ดดิน สำหรับดินเม็ดหยาบ ซึ่งก็คือดินที่ค้างบนตะแกรงเบอร์ 200 หรือดินที่มีขนาดเม็ดดินโตกว่า 0.075 มิลลิเมตร

  4. ทฤษฎีการทดสอบ การทดสอบหาขนาดเม็ดดินโดยการร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐาน มี 2 วิธี ดังนี้ 1. ทดสอบแบบไม่ล้างน้ำ เป็นการทดสอบที่ใช้กับตัวอย่างดินที่มีเม็ดหยาบเป็นส่วนใหญ่หรือมีเม็ดละเอียดปนอยู่น้อย เช่น กรวด ทราย ที่อยู่ในสภาพแห้ง 2. ทดสอบแบบล้างน้ำ เป็นการทดสอบที่ใช้กับดินตัวอย่างที่มีเม็ดละเอียดปนอยู่มาก โดยการนำตัวอย่างดินไปแช่น้ำ แล้วนำมาล้างด้วยน้ำสะอาดผ่านตะแกรงเบอร์ 200

  5. ทฤษฎีการทดสอบ coarse gravel fine gravel coarse sand medium sand fine sand Sieve Analysis นำไปทดสอบ Hydrometer Analysis

  6. ทฤษฎีการทดสอบ 1นิ้ว 16ช่อง/ตร.นิ้ว Sieve #4 1นิ้ว หมายถึง

  7. ทฤษฎีการทดสอบ เส้นกราฟการกระจายตัวของดิน (Grained Size Distribution Curve)

  8. ทฤษฎีการทดสอบ ส.ป.ส.ความโค้ง ส.ป.ส.ความสม่ำเสมอ

  9. ทฤษฎีการทดสอบ กรวดที่มีความคละกันดี (Well Grade Gravel) : Cu > 4 และ Cc  1 – 3 ทรายที่มีความคละกันดี (Well Grade Sand) : Cu > 6 และ Cc  1 – 3 ดินที่มีขนาดเม็ดดินสม่ำเสมอ (Poor Graded) : Cu  1 (ใกล้ 1.0)

  10. การแปลผลการทดสอบหาขนาดของเม็ดดินโดยวิธีร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐานการแปลผลการทดสอบหาขนาดของเม็ดดินโดยวิธีร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐาน การเตรียมตัวอย่างดิน • การทดสอบแบบเปียก (Wet Sieve Method) เมื่ออบแห้งแล้วโดยส่วนท้างบนตะแกรงเบอร์ 200 นำไปทดสอบ Sieve และส่วนที่ผ่านตะแกรงเบอร์ 200 สำหรับทดสอบ Hydrometer นำเข้าตู้อบเพื่ออบดินให้แห้ง ล้างดินผ่านตะแกรงเบอร์ 200 • การทดสอบแบบแห้ง (Dry Sieve Method) ชั่งดินตัวอย่างตามน้ำหนักที่แนะนำในตาราง

  11. 3/8” #4 #10 #40 #100 #200 เรียงจากขนาดใหญ่ไปเล็ก การแปลผลการทดสอบหาขนาดของเม็ดดินโดยวิธีร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐาน ขั้นตอนการทดสอบ ทำความสะอาดตะแกรง จัดชุดตะแกรงพร้อมชั่งน้ำหนักตะแกรง นำดินใส่ในตะแกรงบนสุด ชั่งน้ำหนักดินรวมกับตะแกรง นำตะแกรงติดตั้งเข้ากับเครื่องเขย่าใช้เวลา 10 นาที

  12. การแปลผลการทดสอบหาขนาดของเม็ดดินโดยวิธีร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐานการแปลผลการทดสอบหาขนาดของเม็ดดินโดยวิธีร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐาน

  13. การแปลผลการทดสอบหาขนาดของเม็ดดินโดยวิธีร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐานการแปลผลการทดสอบหาขนาดของเม็ดดินโดยวิธีร่อนผ่านตะแกรงมาตรฐาน ผลที่ได้ไม่น่าเชื่อถือเมื่อ • น้ำหนักดินหายไประหว่างการทดสอบเกิน 0.5% • ตะแกรงที่ใช้ในการทดสอบชำรุด ข้อเสนอแนะ • ไม่ควรใส่ดินในตะแกรงมากเกินไป • ใช้เวลาในการร่อนผ่านตะแกรงเพียงพอ • ถ้าใช้วิธีล้างน้ำต้องแน่ใจว่าล้างเม็ดดินที่เล็กกว่าเบอร์ 200 จนหมด • ห้ามใส่ตัวอย่างลงในตะแกรงขณะยังร้อนอยู่

  14. การนำไปใช้งาน 1. เป็นข้อมูลสำหรับการจำแนกประเภทดิน

  15. การนำไปใช้งาน 2. เป็นข้อมูลสำหรับคัดเลือกวัสดุรองพื้นทาง

  16. การนำไปใช้งาน

  17. การนำไปใช้งาน 3. เป็นข้อมูลสำหรับการหาขนาดเม็ดดินประสิทธิผล (Effective Size, D10) เพื่อนำไปใช้คำนวณสัมประสิทธิ์ความซึมได้ของน้ำ Hasen ‘s Method (1892, 1911) k = 100(D10)2 ,cm/s เมื่อ D10 = Effective Size (cm)

  18. การนำไปใช้งาน 3. นำไปใช้ในการออกแบบชั้นกรอง (Filter Drainage) สำหรับงานเขื่อน

  19. ดูวีดีโอแสดงขั้นตอนการทดสอบ และการกรอกข้อมูล

More Related