1 / 28

การศึกษาผลกระทบการเปิดการค้าเสรี อาเซียน ( AFTA )

การศึกษาผลกระทบการเปิดการค้าเสรี อาเซียน ( AFTA ). สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 15 มกราคม 2553. ความเป็นมา. ปี 2535 จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน ( AFTA ). วัตถุประสงค์ ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างสมาชิกอาเซียน สร้างความสามารถในการแข่งขัน ดึงดูดการขยายการลงทุนจากต่างประเทศ

Download Presentation

การศึกษาผลกระทบการเปิดการค้าเสรี อาเซียน ( AFTA )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาผลกระทบการเปิดการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 15 มกราคม 2553

  2. ความเป็นมา ปี 2535 จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) วัตถุประสงค์ • ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างสมาชิกอาเซียน • สร้างความสามารถในการแข่งขัน • ดึงดูดการขยายการลงทุนจากต่างประเทศ • สร้างอำนาจการต่อรองกับประเทศ นอกกลุ่ม • เป้าหมายหลัก • ลด/เลิก ภาษีสินค้าให้หมดไป • ยกเลิกอุปสรรคทางการค้า ที่มิใช่ภาษี(ยกเลิกโควตาสินค้าเกษตร 23 รายการ)

  3. จำนวนรายการสินค้าที่เจรจาลดภาษีกัน (พิกัด 8 หลัก) รวมทั้งหมด 8,300 รายการ เกษตร 1,273 รายการ

  4. กรอบเวลาการลดภาษีของอาฟต้ากรอบเวลาการลดภาษีของอาฟต้า อาเซียนเดิม 6 ประเทศ:ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ บรูไน สิงคโปร์ 2546 สินค้า ร้อยละ 60 ภาษีลดเหลือ 0% 2550 สินค้า ร้อยละ 80 ภาษีลดเหลือ 0% 2553 สินค้า ร้อยละ 100 ภาษีลดเหลือ 0% อาเซียนใหม่ 4 ประเทศ: กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม 2558 สินค้าร้อยละ 100 ภาษีลดเหลือ 0%

  5. เงื่อนไขการได้รับสิทธิประโยชน์ด้านภาษี(ลดภาษี)เงื่อนไขการได้รับสิทธิประโยชน์ด้านภาษี(ลดภาษี) เป็นสินค้าที่มีการผลิตในอาเซียนประเทศใดประเทศหนึ่ง หรือ มากกว่า 1 ประเทศรวมกันแล้ว คิดเป็นมูลค่าอย่างน้อย 40% ของมูลค่าสินค้า เป็นสินค้าที่อยู่ในบัญชีลดภาษีของทั้งประเทศผู้ส่งออกและนำเข้า (ผู้ส่งออกไทยจะต้องขอใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าที่กรมการค้าต่างประเทศ)

  6. สถานการณ์การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับอาเซียน 9 ประเทศ ก่อนเปิดเสรีการค้าสินค้า

  7. สถิติการค้าสินค้าเกษตร : ไทย-อาเซียน 9 ประเทศ ที่มา : กรมศุลกากร หมายเหตุ : สินค้าเกษตรคือสินค้าพิกัดตอนที่ 1-24 (สินค้าส่งออกสำคัญของไทย คือ ข้าว น้ำตาล)

  8. ส่งออก: สินค้าสำคัญที่ไทยส่งออกไปอาเซียน 9 ประเทศ (เฉลี่ย 3 ปี 2549-2551) พิกัด 10: ข้าว/ธัญพืช=26,305ล้านบาท (ตลาด: ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซียบรูไน) พิกัด 17: น้ำตาล/ ขนมจากน้ำตาล = 20,963ล้านบาท (ตลาด: ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ลาว เวียดนาม กัมพูชา) พิกัด 21: ซอส เครื่องแกง น้ำปลา = 10,742ล้านบาท (ตลาด: ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม กัมพูชา) พิกัด 22: เครื่องดื่มสุรา = 8,145ล้านบาท (ตลาด: สิงคโปร์ พม่า ลาว พม่า ) พิกัด 19: ผลิตภัณฑ์จากแป้ง = 8,060ล้านบาท (ตลาด: มาเลเซีย ลาว เวียดนาม กัมพูชา พม่า)

  9. มูลค่าการส่งออกและนำเข้าข้าวของไทย- อาเซียน 9 ประเทศ

  10. นำเข้า:สินค้าสำคัญที่ไทยนำเข้าจากอาเซียน 9 ประเทศ ที่มา : กรมศุลกากร

  11. พันธกรณีของไทยภายใต้ AFTA • ต้องลดภาษีทุกรายการสินค้า • เหลือ 0 % ในปี 2553 • (ยกเว้น เมล็ดกาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก • เนื้อมะพร้าวแห้ง ภาษีเหลือ 5%) • ต้องยกเลิกโควตาสินค้าเกษตร • 23 รายการหมดไปในปี 2553

  12. การดำเนินการสำหรับสินค้าเกษตรที่มีโควตา 23 รายการ • ก.คลัง ได้ออกประกาศลดภาษี เหลือ 0-5% ในปี 2553 แล้วทั้ง 23 รายการ • ก. พาณิชย์ เป็นผู้รับผิดชอบออกประกาศการยกเลิกมาตรการโควตา ซึ่งขณะนี้ยกเลิกแล้ว 13 รายการ เหลืออีก 10 รายการ กำลังเตรียมออกประกาศยกเลิกโควตา (อยู่ในระหว่างนำเสนอ ครม.)

  13. ยกเลิกโควตาแล้ว 13 รายการ: 1) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 2) กากถั่วเหลือง 3)น้ำมันถั่วเหลือง 4)น้ำมันปาล์ม 5)หอมหัวใหญ่ 6) เมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่ 7)กระเทียม 8) มันฝรั่ง 9)ไหมดิบ 10) ลำไยแห้ง 11)พริกไทย 12) น้ำตาล 13)ใบยาสูบ กำลังจะยกเลิกโควตา 10 รายการ: กษ. ดูแล 9 รายการ : 1) ชา 2) เมล็ดกาแฟ 3) กาแฟสำเร็จรูป 4) น้ำนมดิบ 5) นมผงขาดมันเนย 6) มะพร้าวผล 7) เนื้อมะพร้าวแห้ง 8) น้ำมันมะพร้าว 9) เมล็ดถั่วเหลือง พณ. ดูแล 1 รายการ: 10) ข้าว การดำเนินการสำหรับสินค้าเกษตรที่มีโควตา 23 รายการ (ต่อ)

  14. โครงสร้างการกำกับดูแลสินค้าโควตาภาษี 23 รายการ ก. เกษตรฯ ดูแล 18 รายการ

  15. โครงสร้างการกำกับดูแลสินค้าโควตาภาษี 23 รายการ (ต่อ) กระทรวงอื่น ดูแล 5 รายการ ก. พาณิชย์ ดูเล 3 รายการ 1. คณะกก.นโยบายข้าวแห่งชาติ : ข้าว 2. คณะกก.อาหารสัตว์ : ข้าวโพด และ กากถั่วเหลือง ก.คลัง : ใบยาสูบ ก.อุตสาหกรรม โดย คณะกก. อ้อยและน้ำตาล ดูแลสินค้า น้ำตาล

  16. การจำแนกสินค้า 23 รายการตามผลกระทบ AFTA

  17. การจำแนกสินค้า 23รายการตามผลกระทบ AFTA(ต่อ)

  18. แนวทางรองรับการเปิดเสรีสินค้าเกษตร 23 รายการ(บทบาทภาครัฐ) • ขั้นที่ 1 : บริหารการนำเข้า ณ ด่านศุลกากร • ขั้นที่ 2 : เยียวยาเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ (เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อให้สามารถแข่งขันได้โดยใช้เงินสนับสนุนจากกองทุน FTA กษ.) • ขั้นที่ 3: ใช้มาตรการปกป้องพิเศษ (เพื่อระงับผลกระทบชั่วคราว โดย กรมศุลกากร กรมการค้าต่างประเทศ แล ะสศก. ติดตามและเฝ้าระวังการนำเข้า หากนำเข้าผิดปกติให้เสนอคณะกรรมการฯ ที่ดูแลสินค้า 23 รายการพิจารณาการเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง => แจ้ง พณ. และ ก. คลัง => เสนอครม. เพื่อเก็บค่าธรรมเนียมปกป้อง)

  19. ตัวอย่าง แนวทางรองรับการเปิดตลาดเสรีสินค้าเกษตรที่อาจจะได้รับผลกระทบ (ด้านการบริหารการนำเข้า)

  20. ตัวอย่างการลดอัตราภาษีของไทยตามพันธกรณี AFTA

  21. การเยียวยาเกษตรกรโดยกองทุน FTA ของกษ. • ตั้งขึ้นตาม มติครม. 20 ก.ค. 2547 • มีวัตถุประสงค์ เพื่อปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและคุณภาพผลผลิต แปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร • ผลการดำเนินงาน -2550 อนุมัติโครงการโคเนื้อ ชา ปาล์มน้ำมัน รวม 118 ล้านบาท -2551 อนุมัติโครงการโคนม รวม 52 ล้านบาท -2552 อนุมัติโครงการกาแฟครบวงจร รวม 54 ล้านบาท • ทิศทางการขับเคลื่อนของกองทุนฯ ในอนาคต -ช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดการค้าเสรี -ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่การผลิต

  22. กองทุน FTA กษ. : การเตรียมการสำหรับสินค้าที่ได้รับผลกระทบ • จัดลำดับความสำคัญของสินค้า - ความรุนแรงของปัญหา - ยุทธศาสตร์และนโยบายของ กษ./ รัฐบาล • จัดสัมมนาเพื่อรับทราบปัญหาและความต้องการของเกษตรกรในภูมิภาค • หารือผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อพิจารณาจัดทำเป็นโครงการเสนอของเงินสนับสนุน • การจัดทำคำขอเงินสนับสนุนจะเป็นลักษณะที่ทบทวน ปรับปรุงใหม่ได้ทุกปีเพื่อให้ทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

  23. สรุป ภาคเกษตรได้หรือเสีย

  24. ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการเปิดเสรีสินค้าเกษตร (ภาพรวม) ผลดี • ไทยส่งออกสินค้าได้มากขึ้น เนื่องจากภาษีที่ลดลงทำให้สินค้าไทยมีราคาถูกลงในสายตาผู้บริโภคอาเซียนซึ่งมีประชากรเกือบ 500 ล้านคน • สินค้าวัตถุดิบนำเข้าจะมีราคาถูก ทำให้ลดต้นทุนการผลิตเพื่อส่งออก • เกษตรกร เกิดการปรับตัวทางการผลิต เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ ผลเสีย - เกษตรกรบางสาขาอาจได้รับผลกระทบด้านราคาสินค้าตกต่ำ เมื่อมีการนำเข้าสินค้าราคาถูกจากอาเซียน 9 ประเทศ

  25. ผลจากอาเซียนลดภาษีเป็น 0% ต่อ GDP ไทย ปี 2558(มุมมองของสถาบันการศึกษา) ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย (14 ก.ค.52) ทำการศึกษาสินค้า 12 กลุ่ม (เกษตร อุตสาหกรรม) พบว่า  ผลจากอาเซียนลดภาษีเป็น 0% ทำให้ GDP ไทยปี 2558 เพิ่มขึ้น 1.75 % คิดเป็นมูลค่า 203,951 ล้านบาท หรือ 0.25 % ต่อปี (จากปี 2551)  ไทยจะเกินดุล สาขาเกษตรแปรรูป มากขึ้น 12.5% และจะเกินดุล สาขาเกษตรและปศุสัตว์ มากขึ้น 16.5%  ไทยมีทิศทางส่งออกสินค้าประมงเพิ่มขึ้น

  26. ผลการสัมมนา 4 ภาค ของ สศก. เกษตรกรรับทราบผลการเจรจา AFTA และเข้าใจว่าจะต้องปรับตัวให้อยู่ กับโลกการค้าเสรีให้ได้ ข้อเสนอของเกษตรกรต่อภาครัฐในการรองรับการเปิดเสรี/เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • ให้ประกันรายได้ต่อไป • สนับสนุนปัจจัยการผลิต อาทิ จัดหาแหล่งน้ำ ชลประทานให้เพียงพอ ปุ๋ยราคาถูก เมล็ดพันธุ์ดี • สนับสนุนการลดต้นทุนการผลิต • สนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุน • ลงทุนด้านโลจิสติกส์ในเขตชายแดนเพื่อความสะดวกในการส่งออก

  27. ไทยควรเตรียมพร้อมกับการเปิดตลาดเสรีอย่างไรไทยควรเตรียมพร้อมกับการเปิดตลาดเสรีอย่างไร เกษตรกร • เน้นคุณภาพสินค้าเกษตร • เน้นสินค้าที่ไทยมีศักยภาพในการส่งออก เช่น ข้าว น้ำตาลและผลิตภัณฑ์ • ปรับภาพลักษณ์บรรจุภัณฑ์ • ใช้เทคโนโลยีในการยืดอายุสินค้าเกษตรหลังเก็บเกี่ยว เอกชน/ผู้ประกอบการ ควรปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อการแข่งขัน โดย • ผลิตสินค้าที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ และ หลากหลาย • พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสู่สากล ตรงกับความต้องการของตลาด • ลดต้นทุนการผลิต เช่น ใช้พันธุ์ดี รวมกลุ่มเพื่อใช้ปัจจัยการผลิตร่วมกัน อาทิ เครื่องสูบน้ำ • ลานตาก

  28. ขอบคุณ

More Related