1 / 17

สิทธิประโยชน์ทางภาษี

จากการเป็นภาคีเขตการค้าเสรีอาเซียน. สิทธิประโยชน์ทางภาษี. ASEAN Free Trade Area (AFTA). ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ประธานคณะกรรมการกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ประธานคณะกรรมการองค์กรการค้าระหว่างประเทศ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย. ASEAN Free Trade Area : AFTA 10 Member Countries.

opa
Download Presentation

สิทธิประโยชน์ทางภาษี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จากการเป็นภาคีเขตการค้าเสรีอาเซียนจากการเป็นภาคีเขตการค้าเสรีอาเซียน สิทธิประโยชน์ทางภาษี ASEAN Free Trade Area (AFTA) ดร. นิลสุวรรณ ลีลารัศมี ประธานคณะกรรมการกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ประธานคณะกรรมการองค์กรการค้าระหว่างประเทศ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

  2. ASEAN Free Trade Area : AFTA 10 Member Countries

  3. ASEAN = Association of Southeast Asian Nationsสมาคมอาเซียน -ก่อตั้งเมื่อ 8 สิงหาคม 2510 - มีสมาชิก 10 ประเทศได้แก่ ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดเนเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไน เวียดนาม พม่า กัมพูชา และลาว (CLMV) - เป็นการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ร่วมมือและช่วยเหลือในด้านสังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และการบริหาร เพื่อเสริมสร้าง ฐานความเจริญรุ่งเรืองและสันติสุขของประชาชาติในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้มากกว่า 520 ล้านคน

  4. AFTA (อาฟต้า) หรือ เขตการค้าเสรีอาเซียน(ASEAN Free Trade Area) 1 • จัดตั้งในปี 2535 เพื่อเปิดตลาดการค้าระหว่าง ASEAN • มีเป้าหมายให้ลดอากรขาเข้าระหว่างประเทศสมาชิกเหลือร้อยละ 0-5 ภายในปี 2546 (Year 2003) • ยกเลิกมาตรการที่มิใช่ภาษีหรือที่เป็นอุปสรรคทางการค้า (Non-Tariff Barrier: NTB) • รวมตลาดการค้าของประเทศสมาชิกทั้งหมด เป็นการขยายตลาดอย่างมหาศาล (520 ล้านคน)

  5. AFTA (อาฟต้า) หรือ เขตการค้าเสรีอาเซียน(ASEAN Free Trade Area) 2 • มีการร่วมมือในด้านอุตสาหกรรมเกษตร คมนาคม บริการ และการสื่อสาร • มีโครงการ AICO (ASEAN Industrial Co-operative Scheme) ให้มีการลงทุนระหว่างประเทศคู่ค้า • มีโครงการ AISP (ASEAN Integrated System of Preference) ให้กับประเทศ CLMV ในการส่งออก • ขณะนี้ ตลาดส่งออกของไทยเรียงตามลำดับคือ (1) AFTA (2)สหรัฐอเมริกา และ (3)EU

  6. กลไกระงับข้อพิพาทของอาเซียน( Dispute Settlement Mechanism) • จัดตั้งกลไก ( พฤศจิกายน 2539 เชียงใหม่ ) • ให้หารือระหว่างประเทศสมาชิกคู่กรณี เพื่อระงับข้อพิพาท ที่เกิดจากการไม่ปฎิบัติตามพันธกรณี ให้สามารถเรียกร้องค่าเสียหาย หรือขึ้นภาษีตอบโต้ได้ MY รถยนต์ PH ปิโตรเคมี VN มอเตอร์ไซด์

  7. การลดอากรขาเข้าระหว่างประเทศสมาชิก ASEAN • ให้รายการสินค้าร้อยละ 90 มีอัตราอากรขาเข้าร้อยละ 0-5(ประเทศไทยมีทั้งหมด ~ 9126 รายการAHTN) • 2546 ใช้อัตราอากรร้อยละ 0 (5476 รายการหรือ 60%) • 2553 ใช้อัตราอากรร้อยละ 0 ทั้งหมด เพื่อรวมเป็นประเทศเขตการค้าเดียวเช่นเดียวกับเขตการค้าเสรีอื่น NAFTA และ EU เป็นต้น • 2563 เปิดเสรีทุกรูปแบบ (Hanoi Action Plan)

  8. Average Tariff Rate of AFTA 20% Liberalization Non-Tariff Barrier: NTB Thailand 6.02% (2002) 5% CEPT 0% 2007 1993 1995 1997 1999 2001 2003 2005

  9. เงื่อนไขที่ใช้ร่วมกับการให้ลดภาษี0-5%เงื่อนไขที่ใช้ร่วมกับการให้ลดภาษี0-5% 1. ได้แหล่งกำเนิดสินค้าของประเทศสมาชิก 1.1 ASEAN Content 40% 1.2 Cumulative Content 20% 40% 2. ให้สิทธิพิเศษ AISP แก่ประเทศ CLMV (ASEAN Integrated System of Preferences)

  10. เกณฑ์การได้แหล่งกำเนิดสินค้า ASEAN (AFTA) 1. Wholly Obtained (WO) หรือ ข้อ 3 ใช้กับสินค้าเกษตรและประมง 2. Substantial Transformation หรือ ข้อ 3 ใช้กับสิ่งทอ 3. ASEAN Content 40% ของ FOB ใช้กับสินค้าที่เหลือทั้งหมด

  11. การคำนวณค่า % ASEAN Content Originating Materialsวัตถุดิบในประเทศอาเซียน Production Cost ต้นทุนการผลิต Other Costs ค่าใช้จ่าย ต้นทุนอื่นๆ SUM = ASEAN Content ส่วนที่ใช้ในประเทศอาเซียน % ASEAN Content = Local Content x 100 (40) F.O.B. Price หรือ = (F.O.B Price - Non-ASEAN Content) x 100 F.O.B. Price Non-ASEAN Contentis calculated from the summation of C.I.F prices of non-ASEAN originating materials

  12. การให้สิทธิพิเศษ AISP (ลดอากรขาเข้า) ให้กับ CLMV • ASEAN Integrated System of Preferences: AISP • ไทยจะให้เฉพาะประเทศและตามรายการที่ขอมาเท่านั้น • ใช้อัตราอากรขาเข้า 0% หรือเท่ากับ CEPT Rate คือ 5% • ต้องได้แหล่งกำเนิด (ASEAN Origin) สินค้าเกษตรและ • ปศุสัตว์ต้องเป็นแบบ Wholly Obtained ถ้าใช้วัตถุดิบจาก • ประเทศไทยมาผลิตสินค้าด้วยจะใช้ Content ไม่น้อยกว่า 60% • ให้นำเข้าได้ในปริมาณ 2 เท่าของยอดนำเข้าปีที่แล้ว • ไทยสงวนสิทธิที่จะยกเลิกเมื่อใดก็ได้

  13. อุตสาหกรรมที่มีโอกาสประสบความสำเร็จในการขยายตลาดASEANอุตสาหกรรมที่มีโอกาสประสบความสำเร็จในการขยายตลาดASEAN • อุตสาหกรรมที่มีความสามารถแข่งขันได้ทัดเทียมกัน • อุตสาหกรรมที่สามารถแข่งขันและส่งออกได้มากขึ้น • อุตสาหกรรมที่ยังไม่สามารถแข่งขันในเวทีการค้าระหว่างประเทศได้ดีพอ

  14. อุตสาหกรรมที่สามารถแข่งขันและส่งออกได้มากขึ้นอุตสาหกรรมที่สามารถแข่งขันและส่งออกได้มากขึ้น • เฟอร์นิเจอร์ อาหาร สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม ยานยนต์ เซรามิค รองเท้า หนังและผลิตภัณฑ์หนัง พลาสติก อัญมณีและเครื่องประดับ และเคมีภัณฑ์บางประเภท • มีจุดแข็งที่การแข่งขันสูงและมีระดับการพัฒนาจนมีความพร้อมอยู่ก่อนแล้ว • มีแรงงานฝีมือและผลิตสินค้าที่มีคุณภาพได้ดี • จุดอ่อนคือ ค่าแรงงานของไทยที่สูงกว่าประเทศอื่น

  15. อุตสาหกรรมที่มีความสามารถในการแข่งขันทัดเทียมกันอุตสาหกรรมที่มีความสามารถในการแข่งขันทัดเทียมกัน • สินค้ากลุ่มนี้มีคุณภาพใกล้เคียงกัน ราคาจึงเป็นปัจจัยสำคัญในการแข่งขัน • ประเทศที่มีวัตถุดิบต้นทางหรือทรัพยากรธรรมชาติของตนเองและผลิตสินค้าได้ในราคาต้นทุนต่ำกว่า จะได้เปรียบ • สินค้าส่งออกได้แก่ปูนซีเมนต์ แก้วและกระจก เยื่อและกระดาษ ชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ ยา ไม้อัด ไม้ยางและวัสดุแผ่น • สินค้านำเข้าได้แก่กระจก เฟอร์นิเจอร์หวาย และผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์บางชนิด

  16. อุตสาหกรรมที่ยังไม่สามารถแข่งขันในเวทีการค้าระหว่างประเทศได้ดีพออุตสาหกรรมที่ยังไม่สามารถแข่งขันในเวทีการค้าระหว่างประเทศได้ดีพอ • สินค้ากลุ่มนี้ไม่มีวัตถุดิบต้นทางหรือขาดการพัฒนาด้านเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตและขีดความสามารถในการแข่งขัน • ไฟฟ้าและอิเล็คทรอนิคส์ น้ำมันปาล์ม เม็ดพลาสติก เคมีภัณฑ์เครื่องจักรกล เหล็กและเหล็กกล้า • อาจใช้อัตราอากรขาเข้าสูงเพื่อปกป้องสินค้าที่ผลิตในประเทศ • แก้ไขระยะสั้น ลดอากรขาเข้าวัตถุดิบต้นทางของอุตสาหกรรม • แก้ไขระยะยาว รัฐสนับสนุน พัฒนาเทคโนโลยี เพิ่มศักยภาพการแข่งขัน

  17. การเตรียมตัวเชิงรุกของไทยในการแข่งขันทางการค้าการเตรียมตัวเชิงรุกของไทยในการแข่งขันทางการค้า • มีนโยบาย "วัตถุดิบมีอัตราอากรต่ำกว่าสินค้าสำเร็จรูป" • มีกฎหมายป้องกันการทุ่มตลาด และการตอบโต้จะต้องมี • ความรวดเร็วและเห็นผลทันที • มีคณะกรรมการพัฒนาส่งเสริมการส่งออก • จัดตั้งศูนย์บริการหรือห้องปฏิบัติการมาตรฐานกลาง • (Central Lab) ของภาคอุตสาหกรรม • มีการร่วมมือประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน • อย่างใกล้ชิด

More Related