1 / 18

หนังสือเล่มแรก Bookstart

หนังสือเล่มแรก Bookstart. ควรพิศ สายภัทรานุสรณ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี โทร 086-4210-150. หนังสือเล่มแรก Bookstart. 2535 Bookstart UK 2543 Bookstart Japan 254 5 Bookstart มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก 2547 Bookstart ประเทศไทย

Download Presentation

หนังสือเล่มแรก Bookstart

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หนังสือเล่มแรก Bookstart • ควรพิศ สายภัทรานุสรณ์ • พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ • ศูนย์อนามัยที่ 3 ชลบุรี • โทร 086-4210-150

  2. หนังสือเล่มแรก Bookstart • 2535 Bookstart UK • 2543 Bookstart Japan • 2545Bookstart มูลนิธิหนังสือเพื่อเด็ก • 2547 Bookstartประเทศไทย เป็นหนังสือเล่มแรกของชีวิตมนุษย์ ที่พ่อแม่อ่านให้ลูกฟัง

  3. ความสำคัญของหนังสือเล่มแรกความสำคัญของหนังสือเล่มแรก • เป็นกลไกใช้ดึงพ่อแม่ลูกเข้ามาอยู่ใกล้กันใน 3 ขวบปีแรก • เป็นเครื่องมือสร้างสายสัมพันธ์ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า • ทำให้ภาพพ่อแม่ชัด • ทำให้สายสัมพันธ์ชัด • ทำให้ตัวตนชัด • สร้างเยาวชนรุ่นใหม่ที่จิตใจแข็งแรงและมีอนาคต

  4. ความสำคัญของหนังสือเล่มแรกความสำคัญของหนังสือเล่มแรก ผลพลอยได้ • ทำให้เด็กฉลาด • ทำให้เด็กรักการอ่าน • ไม่จำเป็นต้องมีตัวหนังสือ • อาจเป็นเพียงหนังสือภาพที่ช่วยให้เล่าเรื่องได้

  5. ความสำคัญของหนังสือเล่มแรกความสำคัญของหนังสือเล่มแรก วิธีการ • อ่านให้ลูกฟังตั้งแต่แรกเกิดทุกวัน • อย่างน้อยวันละ 5-15 นาที • อ่านทุกวันทุกคืนที่สะดวก • ไม่มีวันหยุดและไม่หยุดราชการ • เปลี่ยนหนังสือได้ตามอายุลูก

  6. ความสำคัญของหนังสือเล่มแรกความสำคัญของหนังสือเล่มแรก เป้าหมาย • เรียนรู้ว่าพ่อแม่นั้นมีจริงใน 6 เดือนแรก • หลัง 6 เดือนสร้างสายสัมพันธ์ (attachment) กับสิ่งที่เรียกว่า “พ่อ” หรือ “แม่” • พัฒนาสายสัมพันธ์ให้ทอดยาวและแข็งแรงมากขึ้นทุกขณะภายใน 3 ขวบปีแรก • ถึงตัวไกลสายสัมพันธ์ยังอยู่

  7. ความสำคัญของหนังสือเล่มแรกความสำคัญของหนังสือเล่มแรก เด็กที่มีภาพพ่อแม่ชัดและสายสัมพันธ์แข็งแรง • จะไม่เข้าหาอบายมุข • ไม่ใช้พฤติกรรมเสี่ยงแม้ว่าอยู่ห่างพ่อแม่ เช่น หนีเรียนไปเล่นเกมส์ • เป็นเด็กดีเพราะความใกล้ชิดพ่อแม่ มิใช่เพราะการสั่งสอน

  8. ความสำคัญของหนังสือเล่มแรกความสำคัญของหนังสือเล่มแรก จากสายสัมพันธ์ เด็กจะสร้างตัวตนของตนเอง “self” • พ่อแม่ชัด สายสัมพันธ์ชัด---> ตัวตนก็จะชัด • จะรักตนเอง ไม่ใช้พฤติกรรมเสี่ยง • รู้ว่าอนาคตของตนเองจะไปไหน • เด็กที่ตัวตนไม่ชัดจะไม่มีตัวตนให้รัก • ไม่มีตัวตนให้ดูแล ใช้พฤติกรรมเสี่ยงไปวันๆ

  9. ความสำคัญของหนังสือเล่มแรกความสำคัญของหนังสือเล่มแรก คำถาม 1.ใครจะเป็นเจ้ามือในการแจกหนังสือเล่มที่ 1,2,3และ4 ตามอายุเด็กที่มากขึ้น 2.เมื่อแจกไปแล้วใครจะตามไปดูแลช่วยเหลือให้พ่อแม่มือใหม่รู้จักใช้

  10. ความสำคัญของหนังสือเล่มแรกความสำคัญของหนังสือเล่มแรก จากผลการวิจัยหนังสือเล่มแรก ต้องมีกระบวนการรองรับ 8 ขั้นตอน คือ • จัดมุมอ่าน • จัดบรรยากาศ • อุ้มลูกนั่งตัก • อ่านได้ทุกเวลา

  11. ความสำคัญของหนังสือเล่มแรกความสำคัญของหนังสือเล่มแรก จากผลการวิจัยหนังสือเล่มแรก ต้องมีกระบวนการรองรับ 8 ขั้นตอน คือ 5. ออกเสียงสูงๆ ต่ำๆ 6. ชี้ชวนดูรูปภาพ 7. ตอบสนองเมื่อลูกสนใจ 8. อ่านทุกวันๆละ 10 นาที

  12. ความสำคัญของหนังสือเล่มแรกความสำคัญของหนังสือเล่มแรก ผลกระทบต่อสังคมประเทศชาติ • เราจะได้เด็กพันธุ์ใหม่ใน 3 ปีข้างหน้า • ได้เยาวชนพันธุ์ใหม่ที่ตัวตนชัดและรักตนเองใน 10 ปีข้างหน้า • ได้ประชากรพันธุ์ใหม่ที่มีอนาคตชัดและพร้อมสร้างอนาคตใน 20 ปีข้างหน้า • เราจะไม่ช่วยกันหรือ

  13. หนังสือเล่มแรก

  14. การเตรียมตัวของพ่อแม่ในการอ่านหนังสือกับลูกการเตรียมตัวของพ่อแม่ในการอ่านหนังสือกับลูก • เตรียมภาวะอารมณ์ • เตรียมเวลา • เตรียมความรู้ • เตรียมเสียง • เตรียมท่าทาง • เตรียมสายตา

  15. วิธีการให้พ่อแม่ลูกสนุกกับโลกหนังสือวิธีการให้พ่อแม่ลูกสนุกกับโลกหนังสือ • พูดคุยกับลูกถึงรายละเอียดของภาพ • อ่านแบบมีอารมณ์ร่วม • คำนึงถึงช่วงระยะเวลาในการอ่าน • ไม่ควรมีการแบ่งอ่าน • ต้องสดชื่นกระตือรือร้น • ควรหากิจกรรมหลากหลายมาทำ ลูกจะได้ไม่เบื่อ

  16. เทคนิคการอ่านหนังสือกับลูกเทคนิคการอ่านหนังสือกับลูก • อ่านตามต้นฉบับ • อ่านโดยใช้อุปกรณ์ประกอบ • อ่านไปคุยไป • อ่านไปเล่นไป • อ่านไปร้องไป • อ่านไปพับไป • อ่านไปวาดไป

  17. กระบวนการในการใช้หนังสือกับเด็กกระบวนการในการใช้หนังสือกับเด็ก • จัดมุมหนึ่งในบ้านให้เป็นมุมหนังสือ • จัดบรรยากาศให้เอื้อต่อการอ่านหนังสือร่วมกัน • สร้างช่วงเวลาที่ชื่นชอบของครอบครัว • อ่านหนังสือให้ลูกฟังเป็นประจำ • อ่านออกเสียงสูงๆต่ำๆ ทำเสียงเล็กเสียงน้อย • ในกรณีที่อ่านหนังสือไม่ออกหรือไม่คล่อง ให้ใช้ภาพในหนังสือ เป็นประเด็นในการพูดคุย

  18. กระบวนการในการใช้หนังสือกับเด็กกระบวนการในการใช้หนังสือกับเด็ก 7. พ่อแม่ต้องใส่ใจและแสดงการตอบรับทุกครั้งที่ลูกแสดงความต้องการหนังสือ 8. อ่านทุกวัน วันละ 5-15 นาที

More Related