1 / 32

PHP

PHP. ประวัติความเป็นมาของ PHP. PHP นั้นถูกคิดค้นขึ้นมาในปี 1994 โดย Rasmus Lerdorf แต่เป็นเวอร์ชั่นที่ไม่เป็นทางการหรือรุ่นทดลองนั่นเอง ซึ่งเวอร์ชั่นนี้ได้มีการทดสอบกับเครื่องของเขาเอง โดยใช้ตรวจสอบติดตามเก็บสถิติข้อมูล ผู้ที่เข้าเยี่ยมชมประวัติส่วนตัวบนเว็บเพจของเขาเท่านั้น

fayola
Download Presentation

PHP

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. PHP

  2. ประวัติความเป็นมาของ PHP • PHP นั้นถูกคิดค้นขึ้นมาในปี 1994 โดย Rasmus Lerdorf แต่เป็นเวอร์ชั่นที่ไม่เป็นทางการหรือรุ่นทดลองนั่นเอง ซึ่งเวอร์ชั่นนี้ได้มีการทดสอบกับเครื่องของเขาเอง โดยใช้ตรวจสอบติดตามเก็บสถิติข้อมูล ผู้ที่เข้าเยี่ยมชมประวัติส่วนตัวบนเว็บเพจของเขาเท่านั้น • ต่อมา PHP เวอร์ชั่นแรกได้ถูกพัฒนาและเผยแพร่ให้กับผู้อื่นที่ต้องการใช้ศึกษาในปี 1995 ซึ่งถูกเรียกว่า ''Personal Home Page'' ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า PHP นั่นเอง ซึ่งในระยะเวลานั้น PHP ยังไม่มีความสามารถอะไรที่โดดเด่นมากมาย จนกระทั่งเมื่อประมาณกลางปี 1995 Rasmus ได้คิดค้นและพัฒนาให้ PHP/PI หรือ PHP เวอร์ชั่น 2 ให้มีความสามารถจัดการเกี่ยวกับแบบฟอร์มข้อมูลที่ถูกสร้างมาจากภาษา HTML และสนับสนุนการติดต่อกับโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล SQL จึงทำให้ PHP เริ่มถูกใช้มากขึ้นอย่างรวดเร็ว และเริ่มมีผู้สนับสนุนการใช้งาน PHP มากขึ้น โดยในปลายปี 1996 PHP ถูกนำไปใช้ประมาณ 15,000 เว็บทั่วโลก และเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อย ๆ

  3. ประวัติความเป็นมาของ PHP • นอกจากนี้ในราวกลางปี 1997 PHP ได้มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาจากเจ้าของเดิมคือนาย Rasmus ที่พัฒนาอยู่เพียงผู้เดียว มาเป็นทีมงาน โดยมีนาย Zeev Suraski และ Adni Gutmans ทำการวิเคราะห์พื้นฐาน และได้นำโค้ดมาพัฒนาให้เป็น PHP เวอร์ชั่น 3 ซึ่งมีความสามารถที่มีความสมบูรณ์มากขึ้น ในราวกลางปี 1999 PHP เวอร์ชั่น 3 ได้ถูกพัฒนาจนสามารถทำงาน Red Hat Linux ได้ ซึ่งในปัจจุบัน PHP มีถึงเวอร์ชั่น 6 แล้ว

  4. ทำไมถึงต้องเลือก PHP 1. PHP นั้นสามารถรันบนระบบปฏิบัติการได้มากมายเช่น Windows, Unix, Linux และอื่นๆ 2. PHP นั้นรองรับกับการใช้งาน โปรแกรม Server จำลองมากมายเช่น Apache, IIS และอื่นๆ 3. PHP นั้นเป็นของฟรีที่สามารถไปหา Download มาใช้งานได้ฟรีโดยไม่ต่องเสียค่าลิขสิทธิ์ 4. ใช้กับระบบแฟ้มข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. PHP มีความยืดหยุ่นตัวสูง ทำให้สามารถนำไปสร้างแอพพลิเคชันได้หลากหลายประเภท 6. ใช้กับการประมวลผลภาพได้ 7. เรียนรู้ง่าย เนื่องจาก PHP ใช้โครงสร้างและไวยากรณ์ภาษาง่าย ๆ เป็นภาษาสคริปต์ภาษาหนึ่ง ทำให้สามารถแทรกตำแหน่งใดก็ได้ในแท็กของ HTML

  5. หลักการทำงานของ PHP Client เรียกคำสั่ง PHP ผ่าน Browser Browser ส่งคำสั่งต่อไป Server Client Browser Server Server ส่งผลต่อไป Browser Browser แสดงผลให้ผู้ใช้ที่ฝั่ง Client Server ส่งคำสั่ง PHP ไปยัง PHPInterpreter PHP ส่งผลลัพธ์เป็น HTML ไปเซิร์ฟเวอร์ HTML PHP Libraries PHP Interpreter เรียกใช้ฟังก์ชันที่ต้องการ MySQL ติดต่อฐานข้อมูล MySQL ด้วยฟังก์ชัน MySQL

  6. จะใช้ PHP ต้องมีอะไรบ้าง 1. ทำการติดตั้งตัวแปรภาษา PHP 2. ทำการติดตั้งโปรแกรม Web Server จำลองบนเครื่องเพื่อรันภาษา PHP (เว็บเซิร์ฟเวอร์ คือ แอปพลิเคชันที่ทำหน้าที่รับ และประมวลผลข้อมูลที่ร้องขอจากผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตโดยผ่านทางเว็บบราวเซอร์ หลังจากเว็บบราวเซอร์รับคำร้องและประมวลผลแล้ว ผลลัพธ์จะถูกส่งกลับไปยังผู้ใช้โดยแสดงผลในเว็บบราวเซอร์นั่นเอง) 3. โปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็น Web Browser เช่น Internet Explorer 4. ทำการติดตั้งโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล MySQL ลงในเครื่อง

  7. รูปแบบของ PHP มี 4 แบบ • Short Style จะใช้ตามรูปแบบของ SGML (Standard Generalized Markup Language) <?echo “My program PHP <BR>”; ?> • XML Style สามารถใช้ได้กับภาษา XML (Extensible Markup Language) <? php echo “My program PHP <BR>”; ?> • Script Style ใช้ร่วมกับภาษา html แล้วระบุภาษาลงไปใน script <SCRIPT LANGUAGE = ‘php’> echo “My program PHP <BR>”; </SCRIPT> • ASP Style ใช้รูปแบบของแท็กเหมือนกับภาษา ASP (Active Server Pages) <% echo “My Program PHP. <BR>”; %>

  8. PHP Statements • ต้องอยู่ภายใต้การเปิดและปิดแท็กและปิดท้ายคำสั่งด้วยเครื่องหมาย ; • คำสั่ง echo หรือ print • echo เป็นการแสดงข้อความหรือข้อมูล • หมายเหตุ (Comment) • ใช้สำหรับอธิบายรายละเอียดของโปรแกรม ตัวแปรภาษาจะมองข้ามข้อความในส่วนของ Comments • การขึ้นบรรทัดใหม่

  9. ตัวแปร • ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $ • ชื่อสามารถเป็นได้ทั้งตัวอักษร และตัวเลข _ และ $ • มีความยาวตั้งแต่ 1 ตัวอักษรไปจนถึง 255 ตัวอักษร • ตัวอักษรของชื่อแรกห้ามเป็นตัวเลข • ควรตั้งชื่อให้สื่อความหมาย • การใช้ตัวพิมพ์เล็กและพิมพ์ใหญ่เพื่อตั้งชื่อนั้นจะไม่เหมือนกัน เช่น $totalscore จะไม่เหมือนกับ $TotalScore • ตัวแปรที่ซ้ำกับที่ตั้งมาแล้วจะทำให้ค่าที่เก็บเดิมนั้นหายไป

  10. ชนิดของตัวแปร • Integer คือ เลขจำนวนเต็ม • Double คือ เลขจำนวนจริง • String คือ ตัวอักษร ต้องอยู่ภายใต้เครื่องหมาย double quotes (“ ”) • Array คือ ชุดของข้อมูลที่เป็นชนิดเดียวกัน • Object คือ กำหนดให้ตัวแปรเก็บคุณสมบัติของ Object ไว้ เช่น attribute และ method โดยใช้ชื่อคลาสเป็นตัวกำหนด

  11. ค่าคงที่ • ค่าคงที่เป็นค่าที่กำหนดให้กับตัวแปรและไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่านั้นในขณะใช้งาน ค่าคงที่สามารถเก็บข้อมูลได้ชนิดเดียวกับตัวแปร ค่าคงที่ที่ใช้งานกับ PHP มีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ • ค่าคงที่กำหนดโดย PHP สร้างขึ้นมาเพื่อให้นำเอาไปใช้งานได้ทันที PHP OS เป็นค่าคงที่ที่แสดงระบบปฏิบัติการที่ใช้ PHP PHP VERSION เป็นค่าคงที่ที่แสดงเวอร์ชันของ PHP ที่นำมาใช้งาน • ค่าคงที่ที่ผู้ใช้กำหนดเอง สามารถกำหนดค่าคงที่เพิ่มเติมได้ด้วยตัวเอง Define (ConstName, Value); ConstName เป็นชื่อของค่าคงที่ที่ตั้งขึ้นมาเอง Value เป็นค่าที่เก็บไว้ในค่าคงที่

  12. Operators Operators คือ เครื่องหมายที่ใช้ในการคำนวณหรือเปรียบเทียบ operator ที่ใช้ใน PHP แบ่งได้เป็น 7 ประเภท • ประเภทที่ 1Arithmetic Operators • ประเภทที่ 2 String Operators • ประเภทที่ 3Assignment Operators • ประเภทที่ 4Incrementing/Decrementing

  13. ประเภทที่ 5 Comparison Operators

  14. ประเภทที่ 6 Logical Operators

  15. ประเภทที่ 7 Bitwise Operators

  16. กลุ่มคำสั่งแบบมีเงื่อนไขกลุ่มคำสั่งแบบมีเงื่อนไข • If If (เงื่อนไข) {คำสั่งต่าง ๆ เมื่อเงื่อนไขเป็นจริง;} • If…else If (เงื่อนไข) {คำสั่งต่าง ๆ เมื่อเงื่อนไขเป็นจริง;} Else {คำสั่งต่าง ๆ เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ;}

  17. กลุ่มคำสั่งแบบมีเงื่อนไข (ต่อ) • If…elseif If (เงื่อนไขที่ 1) {คำสั่งต่าง ๆ เมื่อเงื่อนไขที่ 1 เป็นจริง;} Elseif (เงื่อนไขที่ 2) {คำสั่งต่าง ๆ เมื่อเงื่อนไขที่ 2 เป็นจริง;} Elseif (เงื่อนไขที่ 3) {คำสั่งต่าง ๆ เมื่อเงื่อนไขที่ 3 เป็นจริง;}

  18. กลุ่มคำสั่งแบบมีเงื่อนไข (ต่อ) • switch switch (ตัวแปร) {case ค่าที่ 1 : คำสั่งที่ 1; Break; case ค่าที่ 2 : คำสั่งที่ 2; Break; … case ค่าที่ N : คำสั่งที่ N; Break; Default : คำสั่งเมื่อไม่มีค่าที่ตรงกับที่ระบุใน case; } [break จะทำให้โปรแกรมกระโดดออกไปทำงานนอกคำสั่ง switch]

  19. กลุ่มคำสั่งแบบวนรอบ • while while (เงื่อนไข) {คำสั่งต่าง ๆ เมื่อเงื่อนไขเป็นจริง;} • do …while do {คำสั่งต่าง ๆ เมื่อเงื่อนไขเป็นจริง;} while (เงื่อนไข); • for for (คำสั่งเริ่มต้นของตัวแปร ; เงื่อนไข ; เปลี่ยนแปลงค่าตัวแปร) {คำสั่งต่าง ๆ เมื่อเงื่อนไขเป็นจริง;}

  20. Function of PHP ฟังก์ชัน คือ โปรแกรมย่อยที่สามารถทำการประมวลผลได้ด้วยตัวเอง และสามารถคืนผลลัพธ์ จากการประมวลผลนั้นกลับสู่โปรแกรมหลัก • ฟังก์ชันที่มากับ PHP สามารถเรียกใช้งานได้ทันที • Checkdate() • Checkdate(int_month, int_day, int_year) • Date() • Date (format [,int_timestamp])

  21. ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สร้างขึ้นมาเองฟังก์ชันที่ผู้ใช้สร้างขึ้นมาเอง • ฟังก์ชันที่ไม่มีการส่งค่าระหว่างฟังก์ชัน • ฟังก์ชันที่มีการส่งค่าระหว่างฟังก์ชัน Function Func_Name(parameter) { Return [instuctions]; } Func_Name(parameter_value)

  22. ฟังก์ชั่น floor() • จะทำการปัดเศษทศนิยมทิ้งทั้งหมด ไม่ว่าค่าทศนิยมจะ เกิน .5  หรือไม่

  23. Array อะเรย์ คือ ชุดของตัวแปรที่แสดงอยู่ในรูปของลำดับที่ เพื่อใช้สำหรับเก็บค่าของข้อมูลที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ส่วนตัวแปรประเภทอะเรย์ จะถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจำในตำแหน่งที่ต่อเนื่องกัน อะเรย์จะมีขนาดใหญ่หรือเล็กขึ้นอยู่กับจำนวนมิติ (Dimension) ที่กำหนด ซึ่งชนิดของข้อมูลในอะเรย์จะต้องเป็นชนิดเดียวกัน ตัวแปรที่เก็บอยู่ในอะเรย์เรียกว่าอีลีเมนต์ (element) แต่ละอีลีเมนต์ในอะเรย์จะมีอินเด็กซ์ เพื่อใช้สำหรับระบุค่าที่เก็บอยู่ภายในแต่ละ element ของอะเรย์ จำนวนอินเด็กซ์ของอะเรย์จะกำหนดโดยผู้ใช้ อินเด็กซ์ของอะเรย์ ใช้สำหรับอ้างอิงถึงแต่ละอีลีเมนต์ที่อยู่ในอะเรย์ ค่าอินเด็กซ์จะเริ่มที่ 0 และสามารถกำหนดอินเด็กซ์ของอะเรย์เป็นตัวอักษรได้

  24. การสร้างอะเรย์ด้วยฟังก์ชันการสร้างอะเรย์ด้วยฟังก์ชัน • การใช้ฟังก์ชัน array() • การใช้ฟังก์ชัน range() • การนำข้อมูลจากเท็กซ์ไฟล์มาเก็บในอะเรย์ • การกำหนดอินเด็กซ์ของอะเรย์เป็นตัวอักษร • การเข้าถึงข้อมูลภายในอะเรย์ • การใช้ฟังก์ชัน each() • การใช้ฟังก์ชัน list()

  25. การเรียงลำดับในอะเรย์การเรียงลำดับในอะเรย์ • การเรียงลำดับอะเรย์ที่มีอินเด็กซ์เป็นตัวเลข • เรียงลำดับจากน้อยไปมาก โดยใช้ฟังก์ชัน sort() • เรียงลำดับจากมากไปน้อย โดยใช้ฟังก์ชัน rsort() • การเรียงลำดับอะเรย์ที่มีอินเด็กซ์เป็นตัวอักษร • เรียงลำดับจากน้อยไปมากตามข้อมูลในอะเรย์ โดยใช้ฟังก์ชัน asort() • เรียงลำดับจากน้อยไปมากตามอินเด็กซ์ของอะเรย์ โดยใช้ฟังก์ชัน ksort() • เรียงลำดับจากมากไปน้อยตามข้อมูลในอะเรย์ โดยใช้ฟังก์ชัน arsort() • เรียงลำดับจากมากไปน้อยตามอินเด็กซ์ของอะเรย์ โดยใช้ฟังก์ชัน krsort()

  26. อะเรย์หลายมิติ อะเรย์หลายมิติคือ อะเรย์ที่มีสมาชิกเป็นข้อมูลแบบอะเรย์ (อะเรย์ซ้อนอะเรย์) $province[0][0] $province[0][1] $province[0][2] $province[1][0] $province[1][1] $province[1][2] $province[2][0] $province[2][1] $province[2][2]

  27. การใช้ฟังก์ชัน shuffle() • การใช้ฟังก์ชัน array_reverse() • การใช้ฟังก์ชัน array_push() • การใช้ฟังก์ชัน array_count_values

  28. การใช้งานสตริง สตริง (String) คือ ชุดของตัวอักษรซึ่งเกิดจากการรวมกันของตัวอักษรหลาย ๆ ตัว ก่อนที่จะนำสตริงไปใช้งานควรจัดการข้อมูลในสตริงให้เป็นระเบียบก่อน • การหาขนาดความยาวข้อความ • Function strlen • การตัดช่องว่างภายในสตริง • Function trim • Function Ltrim • Function chop

  29. การเปลี่ยนรูปแบบของตัวอักษรการเปลี่ยนรูปแบบของตัวอักษร • Strtoupper แปลงประโยคให้เป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด • Strtolower แปลงประโยคให้เป็นตัวอักษรพิมพ์เล็กทั้งหมด • Ucfirst แปลงตัวอักษรตัวแรกของประโยคให้เป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ • Ucwords แปลงตัวอักษรตัวแรกของทุกตัวที่ขึ้นต้นคำใหม่ให้เป็นตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ • การรวมข้อความจากอะเรย์กลับเป็นข้อความ • Implode • Join

  30. การแบ่งข้อความออกจากกันการแบ่งข้อความออกจากกัน • explode • ตัดข้อความบางส่วนมาใช้ • strchr ตัดข้อความบางส่วนตั้งแต่ตัวแรกที่พบจนถึงท้ายสุด • strrchr ตัดข้อความบางส่วนตั้งแต่ตัวสุดท้ายที่พบจนถึงท้ายสุด • stristr ตัดข้อความบางส่วนตั้งแต่ตัวแรกที่พบจนถึงท้ายสุดโดยไม่สนใจเรื่องตัวพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่ • strstr ตัดข้อความบางส่วนตั้งแต่ตัวแรกที่พบจนถึงท้ายสุดโดยสนใจเรื่องตัวพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่

  31. การแสดงข้อความซ้ำหลายรอบการแสดงข้อความซ้ำหลายรอบ • str_repeat • การเปรียบเทียบสตริง • strnatcmp • การหาตำแหน่งของสตริงย่อย โดยการคืนค่าถ้าฟังก์ชันไม่พบค่าสตริงที่ค้นหา จะส่งคืนค่าเป็นเท็จ ซึ่งค่าเท็จจะมีค่าเท่ากับ 0 ทำให้เกิดปัญหาเพราะอักขระตัวแรกของภาษา PHP คือตำแหน่งที่ 0 แก้ปัญหานี้ได้โดยการใช้เครื่องหมาย === เพื่อทดสอบค่าที่ส่งคืนมา • strops

  32. การค้นหาและเปลี่ยนค่าสตริงการค้นหาและเปลี่ยนค่าสตริง • str_replace

More Related