310 likes | 812 Views
รายชื่อ นายกรัฐมนตรี แห่งราชอาณาจักรไทย ตั้งแต่พ.ศ. 2475 -ปัจจุบัน. ความสำคัญและที่มาของ นายกรัฐมนตรี เป็นตำแหน่งหัวหน้า รัฐบาล รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติไว้ว่าต้อง ได้รับ พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯแต่งตั้งจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงจะขึ้นดำรงตำแหน่งได้
E N D
รายชื่อนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทยตั้งแต่พ.ศ. 2475 -ปัจจุบัน
ความสำคัญและที่มาของนายกรัฐมนตรีความสำคัญและที่มาของนายกรัฐมนตรี • เป็นตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาล • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติไว้ว่าต้อง ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงจะขึ้นดำรงตำแหน่งได้ • จะเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือไม่ก็ได้ • ขึ้นอยู่กับรัฐธรรมนูญที่มีผลบังคับใช้อยู่ในขณะนั้น
ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้น บัญญัติให้มีขึ้นภายหลัง การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475 โดยเรียกว่าประธาน คณะกรรมการราษฎรตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครอง แผ่นดินสยามชั่วคราวพุทธศักราช2475 • ภายหลังพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 จึงได้เปลี่ยนมาเป็นตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
นายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทยคือนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทยคือ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา • คนปัจจุบันคนที่ 27 คือนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ • ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 17ธันวาคม พ.ศ. 2551 หลังจากได้รับการเลือกจากสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร ด้วยคะแนน 235 ต่อ198 เมื่อวันที่ 15 ธันวาคมพ.ศ. 2551
คนที่ 1 พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (นายก้อน หุตะสิงห์) ประธานคณะกรรมการราษฎร ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย สมัยที่ 1 (28 มิถุนายน 2475-9 ธันวาคม 2475) สมัยที่ 2 (10 ธันวาคม 2475 -1 เมษายน 2476) สมัยที่ 3 (1 เมษายน 2476 -21 มิถุนายน 2476)
คนที่ 2 พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา (นายพจน์ พหลโยธิน) ดำรงตำแหน่ง 5 สมัย สมัยที่ 4 (21 มิถุนายน 2476-16 ธันวาคม 2476) สมัยที่ 5 (16 ธันวาคม 2476-22 กันยายน 2477) สมัยที่ 6 (22 กันยายน 2477-9 สิงหาคม 2480) สมัยที่ 7 (9 สิงหาคม 2480-21 ธันวาคม 2480) สมัยที่ 8 (21 ธันวาคม 2480-16 ธันวาคม 2481)
คนที่ 3 จอมพล ป.พิบูลสงคราม (นายแปลก พิบูลสงคราม) ดำรงตำแหน่ง 8 สมัย สมัยที่ 9 (16 ธันวาคม 2481-7 มีนาคม 2485) สมัยที่ 10 (7 มีนาคม 2485- 1 สิงหาคม 2487) สมัยที่ 21 (8 เมษายน 2491-25 มิถุนายน 2492) สมัยที่ 22 (25 มิถุนายน 2492-29 พฤศจิกายน 2494) สมัยที่ 23 (29 พฤศจิกายน 2494-6 ธันวาคม 2494) สมัยที่ 24 (6 ธันวาคม 2494-23มีนาคม 2495) สมัยที่ 25 (24 มีนาคม 2495-21 มีนาคม 2500) สมัยที่ 26 (21 มีนาคม 2500-16 กันยายน 2500)
คนที่ 4 พันตรีควง อภัยวงศ์(หลวงโกวิทอภัยวงศ์) ดำรงตำแหน่ง 4 สมัย สมัยที่ 11 (1 สิงหาคม 2487 - 31 สิงหาคม 2488) สมัยที่ 14 (31 มกราคม 2489 - 24 มีนาคม 2489) สมัยที่ 19 (10 พฤศจิกายน 2490- 21 กุมภาพันธ์ 2491) สมัยที่ 20 (21 กุมภาพันธ์ 2491 -8 เมษายน 2491)
คนที่ 5 นายทวี บุณยเกตุ ดำรงตำแหน่ง 1 สมัย สมัยที่12 (31 สิงหาคม2488 - 17 กันยายน 2488)
คนที่ 6 หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช ดำรงตำแหน่ง 4 สมัย สมัยที่ 13 (17 กันยายน 2488 - 31 มกราคม 2489) สมัยที่ 35 (15 กุมภาพันธ์2518 - 14 มีนาคม 2518) สมัยที่ 37 (20 เมษายน 2519 - 25 กันยายน 2519) สมัยที่ 38 (25 กันยายน 2519 - 6 ตุลาคม 2519)
คนที่ 7 ศ.ดร.ปรีดี พนมยงค์(หลวงประดิษฐ์มนูธรรม) ดำรงตำแหน่ง 2 สมัย สมัยที่ 15 (24 มีนาคม 2488-11 มิถุนายน 2489) สมัยที่ 16 (11 มิถุนายน 2489-23 สิงหาคม 2489)
คนที่ 8 (พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์) ดำรงตำแหน่ง 2 สมัย สมัยที่ 17 (23 สิงหาคม 2489-30 พฤษภาคม 2490) สมัยที่ 18 (30 พฤษภาคม 2490-8 พฤศจิกายน 2490)
คนที่ 9 นายพจน์ สารสิน ดำรงตำแหน่ง 1 สมัย สมัยที่ 27 (21 กันยายน 2500- 1 มกราคม 2501)
คนที่ 10จอมพลถนอม กิตติขจร ดำรงตำแหน่ง 4 สมัย สมัยที่ 28 (1 มกราคม 2501-20 ตุลาคม 2501) สมัยที่ 30 (9 ธันวาคม 2506- 7 มีนาคม 2512) สมัยที่ 31 (7 มีนาคม 2512-17 พฤศจิกายน 2514) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (18 พฤศจิกายน 2514-17 ธันวาคม 2515) สมัยที่ 32 (18 ธันวาคม 2515 - 14 ตุลาคม 2516)
คนที่ 11จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ดำรงตำแหน่ง 1 สมัย สมัยที่ 29 (9 กุมภาพันธ์ 2502- 8 ธันวาคม 2506)
คนที่ 12 นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ดำรงตำแหน่ง 2 สมัย สมัยที่ 33 (14 ตุลาคม 2516-22 พฤษภาคม 2517) สมัยที่ 34 (27 พฤษภาคม 2517-15 กุมภาพันธ์ 2518)
คนที่ 13 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ดำรงตำแหน่ง 1 สมัย สมัยที่ 36 (14 มีนาคม 2518 - 20 เมษายน 2519)
คนที่ 14 นายธานินทร์ กรัยวิเชียร ดำรงตำแหน่ง 1 สมัย สมัยที่ 39 (8 ตุลาคม 2519-20 ตุลาคม 2520
คนที่ 15 พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ดำรงตำแหน่ง 2 สมัย สมัยที่ 40 (11 พฤศจิกายน 2520 - 12 พฤษภาคม 2522) สมัยที่ 41 (12 พฤษภาคม 2522 - 3 มีนาคม 2523)
คนที่ 16 พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย สมัยที่ 42 (3 มีนาคม 2523 -30 เมษายน 2526) สมัยที่ 43 (30 เมษายน 2526 -5 สิงหาคม 2529) สมัยที่ 44 (5 สิงหาคม 2529 -4 สิงหาคม 2531)
คนที่ 17 พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ดำรงตำแหน่ง 2 สมัย สมัยที่ 45 (4 สิงหาคม 2531- 9 ธันวาคม 2533) สมัยที่ 46 (9 ธันวาคม 2533- 23 กุมภาพันธ์ 2534) ถูกคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ(รสช.) ยึดอำนาจ (24 กุมภาพันธ์ 2534 -1 มีนาคม 2534)
คนที่ 18 นายอานันท์ ปันยารชุน ดำรงตำแหน่ง 1 สมัย สมัยที่ 47 (2 มีนาคม 2534 - 7 เมษายน 2535)
คนที่ 19 พลเอกสุจินดา คราประยูร ดำรงตำแหน่ง 1 สมัย สมัยที่ 48 (7 เมษายน 2535 - 24 พฤษภาคม 2535) ถูกประชาชนขับไล่โดยอ้างว่าไม่ได้มาตามวิถีประชาธิปไตย นายมีชัย ฤชุพันธุ์ (จึงปฏิบัติราชการแทน) (24 พฤษภาคม 2535-10 มิถุนายน 2535)
คนที่ 20 นายชวน หลีกภัย ดำรงตำแหน่ง 2 สมัย สมัยที่ 50 (23 กันยายน 2535-13 กรกฎาคม 2538) สมัยที่ 53 (9 พฤศจิกายน 2540 - 17 กุมภาพันธ์ 2544)
คนที่ 21 นายบรรหาร ศิลปอาชา ดำรงตำแหน่ง 1 สมัย สมัยที่ 51 (13 กรกฎาคม 2538-25 พฤศจิกายน 2539)
คนที่ 22 พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ดำรงตำแหน่ง 1 สมัย สมัยที่ 52 (25 พฤศจิกายน 2539 - 9 พฤศจิกายน 2540)
คนที่ 23 พันตำรวจโท ดร.ทักษิณ ชินวัตร ดำรงตำแหน่ง 2 สมัย สมัยที่ 54 (17 กุมภาพันธ์ 2544-11มีนาคม 2548) สมัยที่ 55 (5 เมษายน 2549-23 พฤษภาคม 2549) (23 พฤษภาคม 2549-19 กันยายน 2549) พลตำรวจเอกชิดชัย วรรณสถิตย์ (ปฏิบัติราชการแทน) คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยฯ (คปค.)ทำการยึดอำนาจในวันที่ 19 กันยายน 2549
คนที่ 24 พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ดำรงตำแหน่ง 1 สมัย สมัยที่ 56 (1 ตุลาคม 2549 - 29 มกราคม 2551)
คนที่ 25 นายสมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่ง 1 สมัย สมัยที่ 57 (29 มกราคม 2551 - 9 กันยายน 2551) นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ (ปฏิบัติราชการแทน) (9 กันยายน 2551 - 18 กันยายน 2551)
คนที่ 26 นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ดำรงตำแหน่ง 1 สมัย สมัยที่ 58 (18 กันยายน 2551 - 2 ธันวาคม 2551) นายแพทย์ชวรัตน์ ชาญวีรกูล (ปฏิบัติราชการแทน) (2 ธันวาคม 2551-17 ธันวาคม 2551)
คนที่ 27 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ สมัยที่ 59 (17 ธันวาคม 2551-ปัจจุบัน)