1 / 27

Cerebral protection: H ypothermia and others modalities

Cerebral protection: H ypothermia and others modalities. รศ.นพ.พลพันธ์ บุญมาก ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ความสำคัญของการปกป้องสมอง. อวัยวะสำคัญ หัวใจหยุดเต้น การบาดเจ็บ โรคหลอดเลือด เนื้องอก การผ่าตัดสมอง หัวใจ หลอดเลือด การสูญเสียซึ่งไม่สามารถสร้างทดแทน.

falala
Download Presentation

Cerebral protection: H ypothermia and others modalities

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Cerebral protection:Hypothermia and others modalities รศ.นพ.พลพันธ์ บุญมาก ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. ความสำคัญของการปกป้องสมองความสำคัญของการปกป้องสมอง • อวัยวะสำคัญ • หัวใจหยุดเต้น การบาดเจ็บ โรคหลอดเลือด เนื้องอก การผ่าตัดสมอง หัวใจ หลอดเลือด • การสูญเสียซึ่งไม่สามารถสร้างทดแทน • หลักฐานเชิงประจักษ์: mild hypothermia ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นจาก ventricular fibrillation นอกโรงพยาบาล

  3. Cerebral protection:Hypothermia and others modalities

  4. กลไกการบาดเจ็บของเซลล์สมองกลไกการบาดเจ็บของเซลล์สมอง • กลไกพื้นฐาน • สมองขาดเลือด • global ischemia (หัวใจหยุดเต้น) มีผลต่อสมองบริเวณ hippocampus และ cerebral cortex • focal ischemia (หลอดเลือดอุดตัน ความดันเลือดต่ำ) สมองบางส่วนมีเลือดเพียงพอ • ส่วนกลางที่ขาดเลือดมาก (core) • ส่วนรอบ ๆ ซึ่งมีเลือดไปเลี้ยงน้อยกว่าปกติ (penumbra)

  5. ผลการขาดเลือดต่อสมองในระยะสั้นผลการขาดเลือดต่อสมองในระยะสั้น

  6. ผลการขาดเลือดต่อสมองในภาวะ reperfusion

  7. ผลการขาดเลือดต่อสมองในระยะยาวผลการขาดเลือดต่อสมองในระยะยาว • ส่งผลต่อเนื่องในระยะยาวแม้ว่ามีเลือดไปเลี้ยงสมองตามปกติ • กระบวนการที่เกิดขึ้นยังคงดำเนินอยู่ • ภาวะ reperfusion อาจเกิดนานถึง 6-8 เดือน • การปกป้องสมองควรออกฤทธิ์ในระยะยาว

  8. วิธีลดภาวะแทรกซ้อนจากการขาดเลือดไปเลี้ยงสมองวิธีลดภาวะแทรกซ้อนจากการขาดเลือดไปเลี้ยงสมอง • cerebral protection:การป้องกันอันตรายจากการขาดเลือด • การทำให้เซลล์ทนต่อการขาดเลือดได้มากขึ้นหรือนานขึ้น • cerebral resuscitation:การรักษาและป้องกันอันตรายต่อสมองจากการขาดเลือด • การรักษาเมื่อสมองขาดออกซิเจน • การรักษาเมื่อมีภาวะ reperfusion

  9. วิธีที่ใช้ในการปกป้องสมองวิธีที่ใช้ในการปกป้องสมอง • การใช้ยาชนิดต่าง ๆ • ยานำสลบ ยาดมสลบชนิดไอระเหย lidocaine, nimodipine • การควบคุมทางสรีรวิทยาของผู้ป่วย • การลดอุณหภูมิกาย • การควบคุมระดับออกซิเจน • การควบคุมคาร์บอนไดออกไซด์ • การควบคุมกลูโคสในเลือด

  10. ยานำสลบ (1) • Thiopental:ใช้มานาน ออกฤทธิ์กดการทำงาน ลดความต้องการใช้พลังงาน เซลล์สมองสะสมพลังงานมากขึ้น กระตุ้น GABA receptor ยับยั้ง glutamate • สมองขาดเลือดแบบบางส่วน • สมองขาดเลือดมากไม่สามารถปกป้องสมอง • Propofol: ลดการทำงาน ยับยั้ง free radical ต้านการอักเสบ • ลดเซลล์ตายเมื่อขาดเลือดแบบบางส่วน

  11. ยานำสลบ (2) • Etomidate:ลดการทำงาน ทำลายเซลล์สมองเพิ่ม • ไม่นำมาใช้ในการปกป้องสมอง • Ketamine: NMDA receptor เป็นกระบวนการที่เกิดเมื่อสมองขาดเลือด • สมองขาดเลือดบางส่วน: ให้ก่อนเกิดการขาดเลือด • ขาดเลือดทั้งสมอง: ไม่ได้ผล • ทำลายเซลล์สมองมากขึ้นเมื่อให้ในเด็กและผู้สูงอายุ

  12. ยาดมสลบชนิดไอระเหย(1) • ลดการใช้พลังงาน ขจัด oxygen free radical • ยับยั้ง NMDA, AMPA receptor กระตุ้น GABA receptor • ควบคุมระดับแคลเซียมในเซลล์ • เพิ่มเสถียรภาพขององค์ประกอบในเซลล์ • สนับสนุนการปกป้องในระยะสั้น • ยังไม่มีข้อมูลสนับสนุนศึกษาในระยะยาว • Precondition: สามารถช่วยปกป้องสมองในระยะสั้นได้

  13. ยาดมสลบชนิดไอระเหย(2) • Isoflurane • มีผลในการปกป้องทั้งกรณีสมองขาดเลือดบางส่วนและทั้งสมอง ในสัตว์ทดลองในระยะสั้น • ผล precondition ซึ่งช่วยเพิ่มความทนทานต่อการขาดเลือด • Sevoflurane • มีผลในระยะสั้นในผู้ป่วยที่ขาดเลือดแบบน้อยถึงปานกลาง • ผลการศึกษาการปกป้องสมองในระยะยาวยังไม่ชัดเจน • Desflurane, Halothane, Xenon

  14. ยาอื่น ๆ • Lidocaine ยับยั้งการเกิด apoptosis และลดทำงานของสมอง ยับยั้ง Na+ channel ลดการเกิด depolarization • ยังไม่สามารถใช้ในทางคลินิก และอาจเป็นพิษต่อไขสันหลัง • ยากลุ่ม steroid • ไม่มีการศึกษาที่สรุปว่าช่วยปกป้องสมอง • Nimodipine • ไม่มีการศึกษาที่สนับสนุนชัดเจน

  15. การควบคุมทางสรีรวิทยาของผู้ป่วย (1) • การควบคุมระดับออกซิเจนในเลือดสูง • ภาวะ hyperoxemia เฉพาะกรณีสมองขาดเลือดบางส่วนชั่วคราว • ภาวะreperfusion ซึ่งจะมี reactive oxygen species เพิ่มขึ้น • กรณีขาดเลือดทั้งสมองจะเกิดผลเสีย • การควบคุมระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดต่ำ • ไม่มีประโยชน์เมื่อสมองขาดเลือด

  16. การควบคุมทางสรีรวิทยาของผู้ป่วย (2) • การควบคุมระดับกลูโคสในเลือด • กลูโคสในเลือดสูงส่งผลเสียต่อสมอง • ระดับกลูโคสไม่เกิน 110 มิลลิโมล/ลิตร • การควบคุมอุณหภูมิกายต่ำ • อุณหภูมิกายต่ำได้ประโยชน์บางกรณี • Head injury ไม่ได้ผล • อุณหภูมิกายสูงมีผลเสียต่อสมองแน่นอน

  17. การรักษาที่น่าจะมีผลในการปกป้องสมองในสัตว์ทดลอง และมนุษย์ Fukuda S, Warner DS. Cerebral protection. Br J Anaesth 2007; 99(1):10-7.

  18. การทำอุณหภูมิกายต่ำภายหลังภาวะหัวใจหยุดเต้นการทำอุณหภูมิกายต่ำภายหลังภาวะหัวใจหยุดเต้น • ภาวะหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล • 5% กู้ชีพสำเร็จ และ 70 – 90% มีภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาท • ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นจาก ventricular fibrillation นอกโรงพยาบาลควรทำให้มีอุณหภูมิกายต่ำ (therapeutic hypothermia) ที่ระดับ 32 – 34 องศาเซลเซียส นาน 12 – 24 ชั่วโมง

  19. หลักฐานเชิงประจักษ์ (1) • Holzer M. et al. (systematic review with meta-analysis) • neurological recovery ที่ดี (risk ratio = 1.68 (1.29- 2.07), NNT = 6 (4-13) • ระยะยาวยังไม่มีผลการศึกษา • ภาวะเลือดออก: 28% VS 9% (p = 0.16) • ภาวะติดเชื้อ: 13% VS 7% (p = 0.09)

  20. หลักฐานเชิงประจักษ์ (2) • HACA study group: 273 ราย (ventricular fibrillation 92%) • ลมเย็นเป่า 480 (240-960) นาที 32-34 ° C นาน 24 ชั่วโมง • Bernard SA: 77 ราย (ventricular fibrillation 100%) • ice pack 150 (62-240) นาที 33 ° C นาน 12 ชั่วโมง • Hachimi-Idrissi: • Helmet 225 (90-240) นาที 34 ° C นาน 4 ชั่วโมง

  21. กลไกการลดการบาดเจ็บของสมองกลไกการลดการบาดเจ็บของสมอง • ลดการใช้พลังงานของสมอง • ลดการหลั่งสารสื่อประสาทชนิดกระตุ้น (glutamate) • ยับยั้งการทำงานของ protein kinase C • ลดการสร้าง free radical ลดการสร้าง nitric oxide • ยับยั้ง DNA transcription, apoptosis • ลด reoxygenation injury • เพิ่มการทำงานของ post ischemia protein synthesis • ป้องกัน post-resuscitation syndrome

  22. ผลการตอบสนองของร่างกาย • สมองใช้พลังงานลดลง ลด metabolism ลด PaCO2 • อาการสั่น • เพิ่มอัตราการเต้นหัวใจ เพิ่มแรงต้านทานหลอดเลือด • ปัสสาวะออกเพิ่ม (ascending limb) • ลดระดับฟอสเฟต โปแตสเซียม แมกนีเซียมในกระแสเลือด • ลดการทำงานของลำไส้ เพิ่มระดับน้ำตาลในเลือด • ลดเม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือด การแข็งตัว

  23. ข้อพิจารณาในการทำ therapeutic hypothermia • Cardiac arrest จาก ventricular fibrillation นอกโรงพยาบาล • Cardiac arrest ในโรงพยาบาลที่มีสาเหตุจากหัวใจ • neonatal asphyxia, myocardial infarction, stroke • ข้อมูลยังไม่มากพอ • ประเด็นที่ยังไม่มีข้อสรุป • อุณหภูมิ เวลาที่เริ่มทำ ระยะเวลา อัตราเร็วในการทำ ที่เหมาะสมที่สุด

  24. วิธีการทำ • ทำทันที • ใช้ ice packing, cold infusion, mattress, forced air, intravascular cooling device • นาน 12-24 ชั่วโมง • ควบคุมภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ

  25. Cerebral protection:Hypothermia and others modalities

  26. การดูแลผู้ป่วยเมื่อขาดเลือดไปเลี้ยงสมองขณะผ่าตัดการดูแลผู้ป่วยเมื่อขาดเลือดไปเลี้ยงสมองขณะผ่าตัด • ป้องกันไม่ให้อุณหภูมิกายสูง • ควบคุมระดับกลูโคสให้ปกติ • ควบคุมออกซิเจนในเลือดให้ปกติ (hyperoxemia อาจมีผลเสีย) • ควบคุมระดับคาร์บอนไดออกไซด์ให้ปกติ • พิจารณาการใช้ยาดมสลบชนิดไอระเหย • หลีกเลี่ยงการใช้ยากลุ่ม glucocorticoid • พิจารณาการทำอุณหภูมิกายต่ำกรณีขาดเลือดทั้งสมอง

  27. สรุป • การค้นคว้าวิจัย: ช่วงเวลาที่เหมาะสม กลไกของการเกิดพยาธิภาพ กลไกการรักษา • การทำให้มีอุณหภูมิกายต่ำในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นจาก ventricular fibrillation นอกโรงพยาบาล • วิธีการอื่น ๆ ให้พิจารณาใช้ตามความเหมาะสม

More Related