180 likes | 331 Views
Sounds Multimedia Application. viii . ความรู้ทั่วไป. เสียงจากแหล่งกำเนิดจะเดินทางผ่านตัวกลางในรูปคลื่นเสียง คลื่นเสียงจะแปรผันไปตามขนาดความถี่ ความถี่ = จำนวนลูกคลื่นใน 1 หน่วยเวลา ( Hertz) ความดัง = ขนาดของคลื่นหรือความสูงของคลื่น (Amplitude). เสียงในคอมพิวเตอร์.
E N D
ความรู้ทั่วไป • เสียงจากแหล่งกำเนิดจะเดินทางผ่านตัวกลางในรูปคลื่นเสียง • คลื่นเสียงจะแปรผันไปตามขนาดความถี่ • ความถี่ = จำนวนลูกคลื่นใน 1 หน่วยเวลา (Hertz) • ความดัง = ขนาดของคลื่นหรือความสูงของคลื่น(Amplitude)
เสียงในคอมพิวเตอร์ • เสียงจากการสั่งเคราะห์ = MIDIอาศัยความสามารถทางฮาร์ดแวร์ช่วยสร้างเสียงขึ้นมาใหม่ • เสียงจากการบันทึก = Waveบันทึกเสียงจริงแล้วแปลงเป็นข้อมูลดิจิตอลเก็บในคอมพิวเตอร์
เสียงแบบมิดี้ (MIDI) • ได้รับการพัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980 สำหรับใช้กับเครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ • MIDI ไม่ได้เก็บสัญญาณเสียงแต่เก็บตัวโน้ตของเครื่องดนตรีแทน • การแสดงผลเสียงฮาร์ดแวร์จะต้องทำการสร้างเสียงตามตัวโน้ต และชนิดของเครื่องดนตรี • ฮาร์ดแวร์ที่สามารถสร้างเสียงขึ้นมาได้เหมือนจริงมีราคาสูงมาก
มาตรฐานมิดี้ • มีเสียงออเคสตร้า 128 ชนิด สามารถสังเคราะห์เสียง ใส่เทคนิคพิเศษในเสียง เช่น เปียโน เบส กีตาร์ ทรัมเปต แซกโซโฟน ฯลฯ • ต้องเล่นเสียงแบบ Polyphony อย่างน้อย 24 ตัวโน๊ต และสามารถกำหนดเสียงได้ 16 ช่องเสียง • เสียงดนตรีชนิดต่างๆจะอยู่ที่ช่องเสียง 1-9 เสียงพิเศษจะอยู่ที่ 10 เป็นต้นไป • ลักษณะของเสียงจะแบ่งเป็นกลุ่มได้ 16 กลุ่ม
การกำหนดช่องเสียงมิดี้การกำหนดช่องเสียงมิดี้
เสียงแบบดิจิตอล • เกิดจากการแปลงสัญญาณเสียงแอนาล็อก แล้วแปลงเป็นดิจิตอลในรูปของบิตและไบต์ ด้วยการสุ่มจับ(Sampling • การสุ่มจับ • อัตราการสุ่มจับ(Sampling Rate) จำนวนครั้งในการสุ่มจับในหน่วยเวลา(วินาที) • ขนาดของการสุ่มจับ(Sampling Size) คือขนาดของข้อมูลที่ได้จากการสุ่มจับ • ขนาดขอมูลเสียงดิจิตอลมีขนาดใหญ่มากต้องการทรัพยากรในการประมวลผลสูง
การประมวลผลไฟล์เสียง • คือ การป้อนเสียงเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ทำการปรับขนาด ความถี่ ผสมผสาน เพิ่มเทคนิกพิเศษ ตามต้องการไปจนถึงการแสดงผลทางลำโพง
การบันทึกข้อมูลเสียง • บันทึกเสียง คน เช่นการพากย์ เสียง ให้เสียงตัวละคร • บันทึกเสียงจากธรรมชาติ จากแหล่งต่างๆ เพื่อประกอบเทคนิกพิเศษ • บันทึกเสียงดนตรีเพื่อการพาณิชย์และการบันเทิง • บันทึกเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ในอนาคต • MIDI บันทึกเป็นตัวโน้ตดนตรี • Wave บันทึกเสียงจริงในรูปแบบดิจิตอล
การนำเข้าข้อมูลเสียง • นำเข้าจากสื่อภายนอกอื่นๆ ที่มีอยู่แล้ว ผ่านทางช่องทาง • Aux-in • Line-in • Microphone • CD • อื่นๆ เช่น USB , Network • อาจต้องนำไปผ่านกระบวนการแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่ใช้งานได้
การแก้ไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษการแก้ไขและการเพิ่มเทคนิคพิเศษ • กระบวนการปรับแต่งเสียงซึ่งอาจประกอบไปด้วย... • การเพิ่มหรือลดความดัง • การปรับเปลี่ยนความถี่ • การกรองเสียงรบกวน • การเพิ่มเทคนิกพิเศษต่างๆ เป็นต้น • ต้องใช้ซอฟต์แวร์ทำงานร่วมกับฮาร์ดแวร์ที่มีประสิทธิภาพ
การจัดเก็บข้อมูลเสียงการจัดเก็บข้อมูลเสียง • ขนาดแฟ้มข้อมูลกับคุณภาพของเสียง • ขนาดของการบันทึกจะอยู่ที่คุณภาพของเสียง(Audio Resolution) • ขนาดขึ้นอยู่กับระบบเสียง Mono หรือ Stereo • ขนาดขึ้นอยู่กับขนาดของการสุ่มจับ • การปรับระดับในการบันทึกเสียง • อาศัยดิจิตอลมิเตอร์(Digital meter) สำหรับวัดและปรับระดับความดังให้พอดีกับการใช้งาน • ระดับความดังต้องไม่ต่ำกว่าข้อจำกัดและไม่เกินขีดจำกัด • ระดับความดังที่เหมาะสมอยู่ที่ -10 ถึง -3
การบีบอัดไฟล์เสียง • ไฟล์เสียงคุณภาพสูงมีขนาดใหญ่มาก • ไฟล์เสียง 1 เพลง 3 นาทีอาจมีขนาดความจุเท่ากับ 30 MB หรือมากกว่า • รูปแบบการบีบอัดมีหลายวิธีการได้แก่ ADPCM ย่อมาจาก Adaptive Differential Pulse Code Modulationแต่รูปแบบที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือ MPEG • การบีบอัดบางครั้งทำไม่ได้มาก จนอาจต้องยอมสูญเสียบางอย่างไป
MPEG : Motion Picture Expert Group • มาตรฐานการบีบอัดภาพวีดิทัศน์และเสียง • มาตรฐานการบีบอัดเสียง • MPEG-1 : เป็นเทคโนโลยีการบีบอัดข้อมูลเสียง รูปแบบที่นิยมนำมาใช้คือ Mp3(MPEG 1 Audio Layer 3) โดยจะมีอัตราในการบีบอัดข้อมูลประมาณ 10:1 • MACE : เป็นเทคโนโลยีที่มีจุดเด่นคือ สามารถบีบอัดและขยายข้อมูลให้มีขนาดเท่าเดิม ซึ่งใช้ได้เฉพาะข้อมูลเสียง 8 บิต อัตราการบีบอัดประมาณ 3:1 และ 6:1 สำหรับเครื่อง MAC • μ-Law, A-Law : เป็นมาตรฐานที่กำหนดโดย CCITT สามารถบีบอัดข้อมูลเสียง 16 บิต ได้ในอัตราการบีบอัดประมาณ 2:1 เท่า
รูปแบบของแฟ้มข้อมูลเสียงรูปแบบของแฟ้มข้อมูลเสียง • ไฟล์เสียงประเภท .WAV ถูกสร้างโดยบริษัท Microsoft และ IBM เป็นไฟล์ที่สนับสนุนการใช้งานบนเครื่องพีซีมากกว่าบนเครื่องแมคอินทอช • รูปแบบ CD-I (Compact Disc-Interactive) พัฒนาโดยบริษัทฟิลิปส์ ซึ่งใช้วิธีการแปลงสัญญาณแบบ “Adaptive Delta Pulse Code Modulation”(ADPCM)สามารถบันทึกเสียง 20 ชั่วโมงใน CD 1 แผ่น • รูปแบบ NIFF มีจุดประสงค์หลักสำหรับการทำเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่มีข้อมูลทางด้านดนตรีอย่างครอบคลุมและมีขนาดเล็ก
รูปแบบแฟ้มข้อมูลเสียง(ต่อ)รูปแบบแฟ้มข้อมูลเสียง(ต่อ) • Linear Pulse Code Modulation (LPCM) เป็นวิธีการแปลงข้อมูลเสียงจากสัญญาณอนาลอกเป็นสัญญาณดิจิตอลแล้วซึ่งวิธีการนี้ใช้สำหรับบันทึก CD เพลงทั่วไป สามารถเล่นได้นาน 74 - 80 นาที • MPEG จากการบีบอัดภาพ แยกออกมาเป็นการบีบอัดข้อมูลทางเสียงโดยเฉพาะ โดยมีการบีบอัดข้อมูลสามระดับ
มาตรฐานทางเสียง Red Book • ISO 10149 หรือที่เรียกว่ามาตรฐาน “Red Book” มาตรฐานนี้ ได้กำหนดSampling Rate ให้มีมาตรฐานที่ 44.1 kHz และ Sampling Size มีมาตรฐานที่ 16 บิต แบบเสตอรีโอ • การคำนวณขนาดของไฟล์เสียง