1 / 65

ตารางธาตุและสมบัติของธาตุ

ตารางธาตุและสมบัติของธาตุ. ค.ศ. 1869 Dmitri Mendeleev (รัสเซีย) และ Lothar Meyer (เยอรมัน) ต่างเสนอตารางธาตุ โดยเสนอว่า ธาตุต่างๆ สามารถจัดให้เป็นกลุ่ม ซึ่งมีสมบัติคล้ายคลึงกัน และ

esme
Download Presentation

ตารางธาตุและสมบัติของธาตุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตารางธาตุและสมบัติของธาตุตารางธาตุและสมบัติของธาตุ

  2. ค.ศ. 1869 Dmitri Mendeleev (รัสเซีย) และ Lothar Meyer (เยอรมัน) ต่างเสนอตารางธาตุโดยเสนอว่า ธาตุต่างๆ สามารถจัดให้เป็นกลุ่ม ซึ่งมีสมบัติคล้ายคลึงกัน และ สมบัติที่คล้ายคลึงกัน จะเกิดขึ้นเป็นระยะ (periodic)เมื่อจัดเรียงธาตุ ตามน้ำหนักอะตอม งานวิจัยของ Rutherfordและบุคคลอื่นๆ แสดงให้เห็นว่า สมบัติและพฤติกรรมของธาตุและสารประกอบของธาตุนั้นจะคล้ายคลึงกันเป็นระยะๆ เมื่อจัดเรียงธาตุตามเลขอะตอม “กฎพิริออดิก (periodic law)”

  3. ตารางธาตุ

  4. ตารางธาตุในปัจจุบัน การแบ่งประเภทของธาตุ สามารถแบ่งได้หลายแบบ เช่น 1. คาบ (periods) สมบัติทางเคมีและทางกายภาพของธาตุในคาบเดียวกันมี ความแตกต่างกัน หมู่ (groups)สมบัติทางเคมีและทางกายภาพของธาตุในหมู่เดียวกันมี ความคล้ายคลึงกัน 2. ธาตุเรพรีเซนเตตีฟ(representative elements)ได้แก่ ธาตุหมู่IA – VIIIA main group elements ธาตุทรานสิชัน (transition elements)ได้แก่ธาตุหมู่IB - VIIIB ธาตุทรานสิชันชั้นใน (inner transition elements)ได้แก่ ธาตุในอนุกรมแลนทาไนด์ (lanthanides)และอนุกรมแอกทิไนด์ (actinides)

  5. ชื่อเฉพาะตามหมู่ หมู่ IA : โลหะอัลคาไล (alkali metals) หมู่ IIA : โลหะอัลคาไลน์เอิร์ท (alkaline earth metals) หมู่ VIA: chalcogens หมู่ VIIA: เฮโลเจน(halogens) หมู่ VIIIA: แก๊สมีตระกูล (noble gases)

  6. แนวโน้มของสมบัติตามตารางธาตุแนวโน้มของสมบัติตามตารางธาตุ 1.ขนาดของอะตอม • ถ้าเลขควอนตัมหลักเพิ่มขึ้น ขนาดของออร์บิทัลจะเพิ่มขึ้น • ขนาดอะตอมใหญ่ขึ้นจากบนลงล่าง (ธาตุหมู่เดียวกัน) • ขนาดอะตอมเล็กลงจากซ้ายไปขวา

  7. ขนาดของอะตอม • เมื่อเลขควอนตัมหลักเพิ่มขึ้น ระยะทางจากนิวเคลียสถึงอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดจะมากขึ้น จึงส่งผลให้รัศมีอะตอมมีค่ามากขึ้น • ธาตุในคาบเดียวกัน มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่มีเลขควอนตัมหลักเท่ากัน แต่ธาตุด้านขวามือจะมีประจุบวกที่นิวเคลียสเพิ่มขึ้น ดังนั้น แรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนวงนอกสุดจึงเพิ่มขึ้น รัศมีอะตอมจึงลดลง

  8. 2.ขนาดของไอออน • ขนาดของไอออนขึ้นกับประจุบวกของนิวเคลียส จำนวนอิเล็กตรอน และออร์บิทัลของเวเลนซ์อิเล็กตรอน • ไอออนบวกของธาตุใดๆ เป็นการดึงเอาอิเล็กตรอนออกจากอะตอม ทำให้มีขนาดรัศมีเล็กลงกว่าอะตอมเดิม • ไอออนลบของธาตุใดๆ จะเป็นการเพิ่มจำนวนอิเล็กตรอน ทำให้มีขนาดรัศมีเพิ่มขึ้นจากอะตอมเดิม

  9. ขนาดของไอออน • ไอออนที่มีประจุเท่ากัน รัศมีไอออนของหมู่เดียวกันจะเพิ่มขึ้นจากบนลงล่าง • ไอออนที่มีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากัน(isoelectronic series)ถ้าประจุของนิวเคลียสเพิ่มขึ้น รัศมีของไอออนจะมีขนาดเล็กลง เช่น • O2- > F- > Na+ > Mg2+ > Al3+

  10. 3.พลังงานไอออไนเซชัน • พลังงานไอออไนเซชันที่หนึ่ง (I1) เป็นพลังงานที่ต้องใช้ในการดึงอิเล็กตรอนตัวแรกออกจากอะตอมอิสระในสถานะแก๊ส • Na(g)  Na+(g) + e- • พลังงานไอออไนเซชันที่สอง (I2) เป็นพลังงานที่ต้องใช้ในการดึงอิเล็กตรอนออกจากไอออนที่มีประจุ +1 ในสถานะแก๊ส • Na+(g)  Na2+(g) + e- • ค่าพลังงานไอออไนเซชันสูงแสดงว่าการดึงอิเล็กตรอนออกไปทำได้ยาก

  11. พลังงานไอออไนเซชัน • พลังงานไอออไนเซชันในแต่ละธาตุ จะมีค่าสูงเพิ่มขึ้นมาก เมื่อเกี่ยวข้องกับการดึงอิเล็กตรอนออกจากสภาวะที่มีการจัดเรียงอิเล็กตรอนคล้ายแก๊สมีตระกูล (inner-pair effect)

  12. พลังงานไอออไนเซชัน • ค่าพลังงานไอออไนเซชันในหมู่เดียวกันจะลดลงจากบนลงล่าง เนื่องจากธาตุคาบล่างมีอิเล็กตรอนวงนอกสุดที่สามารถดึงออกได้ง่าย • แนวโน้มพลังงานไอออไนเซชันที่หนึ่ง จะเพิ่มขึ้นจากซ้ายไปขวาในคาบเดียวกัน เนื่องจากแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น ยกเว้นบางธาตุ • ข้อยกเว้น การดึงอิเล็กตรอนจากธาตุที่มีการจัดอิเล็กตรอนแบบบรรจุเต็ม และบรรจุครึ่งออร์บิทัล

  13. พลังงานไอออไนเซชัน • การจัดอิเล็กตรอนแบบบรรจุเต็มและบรรจุครึ่งส่งผลให้อะตอมมีความเสถียรมากกว่า เช่น • การจัดเรียงอิเล็คตรอนแบบ s2p3จะเสถียรกว่าการจัดเรียง แบบs2p4 • การบรรจุเต็มจะเสถียรกว่าบรรจุครึ่ง เช่น • การจัดเรียงอิเล็คตรอนแบบ s2p0จะเสถียรกว่าการจัดเรียง แบบs1p1

  14. พลังงานไอออไนเซชัน • การจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออน • ไอออนบวก: อิเล็กตรอนที่อยู่ในออร์บิทัลที่มีเลขควอนตัมสูงสุดจะถูกดึงออกไปก่อน: • Li (1s2 2s1)  Li+ (1s2) • Fe ([Ar]3d6 4s2)  Fe3+ ([Ar]3d5) • ไอออนลบ: จะเติมอิเล็กตรอนในออร์บิทัลที่มีเลขควอนตัมสูงสุด: • F (1s2 2s2 2p5)  F-(1s2 2s2 2p6)

  15. 4.สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน4.สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน Electron affinity • สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนจะตรงข้ามกับพลังงานไอออไนเซชัน • สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนเป็นพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมในสถานะแก๊สรับอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนที่มีประจุ -1 ในสภาพที่เป็นแก๊ส: • Cl(g) + e- Cl-(g) • สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนสามารถเป็นได้ทั้งการคายพลังงาน (ตัวอย่างข้างบน) หรือเป็นการดูดพลังงาน เช่น • Ar(g) + e- Ar-(g)

  16. สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน • การเติมอิเล็กตรอนเพิ่มลงไปอีกในAr ทำให้ต้องมีการเติมอิเล็กตรอนลงในออร์บิทัล4s ซึ่งมีพลังงานสูงกว่าออร์บิทัล3p มากพลังงานจึงมีค่าบวก (ดูดพลังงาน)

  17. ค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอน

  18. 5.ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี5.ค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี • ความสามารถที่อะตอมจะดึงดูดอิเล็กตรอนเข้ามาหาอะตอมนั้น • จะเพิ่มจากซ้ายไปขวาในคาบเดียวกัน และลดลงจากบนล่าง

  19. โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ

  20. โลหะ • โลหะส่วนใหญ่เป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง นำความร้อนและไฟฟ้าได้ดี ตีแผ่ให้เป็นแผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้ ออกไซด์ของโลหะเป็นเบส มักมีเลขออกซิเดชันเป็นบวกเมื่อเกิดเป็นสารประกอบ • ธาตุหมู่เดียวกัน ความเป็นโลหะจะลดลงจากบนลงล่าง • ธาตุคาบเดียวกัน ความเป็นโลหะจะลดลงจากซ้ายลงไปขวา • โลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันต่ำ • โลหะส่วนใหญ่มักจะถูกออกซิไดส์มากกว่าถูกรีดิวซ์

  21. โลหะ • เมื่อโลหะถูกออกซิไดส์ โลหะจะกลายเป็นไอออนบวก • โลหะหมู่ 1A จะเกิดไอออน M+ • โลหะหมู่ 2A จะเกิดไอออน M2+ • ขณะที่โลหะทรานสิชันสามารถมีประจุได้หลายค่า • ออกไซด์ของโลหะเป็นออกไซด์เบส: • Metal oxide + water  metal hydroxide • Na2O(s) + H2O(l)  2NaOH(aq)

  22. เลขออกซิเดชันของโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ

  23. อโลหะ • เมื่ออโลหะทำปฎิกิริยาหรือเกิดเป็นสารประกอบกับโลหะ อโลหะจะมีแนวโน้มเป็นตัวให้อิเล็กตรอน: • metal + nonmetal  salt • 2Al(s) + 3Br2(l)  2AlBr3(s) • ออกไซด์ของอโลหะเป็นออกไซด์กรด: • nonmetal oxide + water  acid • P4O10(s) + H2O(l)  4H3PO4(aq)

  24. กึ่งโลหะ • กึ่งโลหะเป็นธาตุที่มีสมบัติอยู่ระหว่างโลหะและอโลหะ เช่น ซิลิกอน เป็นธาตุที่มีความมันวาว แต่เปราะ • ธาตุกึ่งโลหะมีการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมสารกึ่งตัวนำ

  25. โลหะหมู่ IA (โลหะอัลคาไล)

  26. Li line: 2p  2s transition Na line (589 nm): 3p  3s transition K line: 4p  4s transition โลหะหมู่ IA

  27. โลหะหมู่ IIA (alkali earth)

  28. สมบัติบางประการของโลหะหมู่ IIA

  29. สมบัติบางประการของธาตุหมู่ IIIA

  30. สมบัติบางประการของธาตุหมู่ IIIA

  31. Borane chemistry

  32. ธาตุหมู่ IVA

  33. ธาตุหมู่ VA Pnictogens

  34. ธาตุหมู่ VA Pnictogens

  35. ธาตุหมู่ VIA (chalcogens) • O, S, Se (nonmetals), Te, Po (metalloids) • ns2 ((n-1)d10) np4 electron configurations • elements O2 (g), O3(g), S8 (s) etc. • O, S, Se, Te add 2 e- to form E2- [Noble gas] • form many M (II), (IV) and (VI) compounds • many molecular rather than ionic compounds, e.g., SO2(g), SF6(g), H2Se(g)

  36. สมบัติบางประการของธาตุหมู่ VIA

More Related