1 / 43

นาวาตรี ดร . พงศ์เทพ จิระโร อาจารย์พยาบาล ทร. ( 29-52) อาจารย์ประจำภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์ ม.บูรพา( 52-

“ ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R ” โดย. นาวาตรี ดร . พงศ์เทพ จิระโร อาจารย์พยาบาล ทร. ( 29-52) อาจารย์ประจำภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์ ม.บูรพา( 52- ปัจจุบัน) พย.บ. มหิดล , วท.บ. ( สุขศึกษา ) ,ศษ.บ. ( บริหารการศึกษา ) ศษ.บ. ( การวัดและประเมินผลการศึกษา )

erling
Download Presentation

นาวาตรี ดร . พงศ์เทพ จิระโร อาจารย์พยาบาล ทร. ( 29-52) อาจารย์ประจำภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์ ม.บูรพา( 52-

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “ทำงานประจำให้เป็นงานวิจัย R to R” โดย นาวาตรี ดร.พงศ์เทพ จิระโร อาจารย์พยาบาล ทร. (29-52) อาจารย์ประจำภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาประยุกต์ ม.บูรพา(52-ปัจจุบัน) พย.บ. มหิดล , วท.บ. ( สุขศึกษา ) ,ศษ.บ.( บริหารการศึกษา ) ศษ.บ. ( การวัดและประเมินผลการศึกษา ) ค.ม. (การวัด และประเมินผลการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ค.ด.(Ph.D.)(การวัด และประเมินผลการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  2. ความสัมพันธ์ • การปฏิบัติงานประจำสู่งานวิจัย R to R (Routine to Research) • การวิจัยปฏิบัติการ AR (Action Research) • การวิจัยพัฒนา R&D (Research and Development) • นำไปสู่ KM ( Knowledge Management ) • นำไปสู่ LO (Learning Organization)

  3. ความรู้( Knowledge ) • ข้อมูล ( Data) • สารสนเทศ ( Information ) • องค์ความรู้ ( Knowledge )

  4. ชนิดของความรู้( Type of Knowledge ) • ความรู้เดิม ความรู้ใหม่ • ความรู้ชัดแจ้ง ( Explicit Knowledge) • ความรู้ที่ในบุคคล ( Tacit Knowledge)

  5. องค์ประกอบของการจัดการความรู้องค์ประกอบของการจัดการความรู้ • การแสวงหาความรู้ • การสร้างความรู้ • การจัดเก็บความรู้ • การถ่ายโอนความรู้และการใช้ประโยชน์

  6. การแสวงหาความรู้ • อ่าน • ฝึกหัด • ศึกษา • อบรม • ประชุม • สัมมนา

  7. การสร้างองค์ความรู้( การวิจัย ) • วิจัยเชิงบรรยาย • วิจัยเชิงพัฒนา • วิจัยเชิงประเมิน • วิจัยเชิงทดลอง

  8. การจัดเก็บความรู้ • ห้องพักผ่อน • ห้องสมุด • ศูนย์สารสนเทศ • ระบบสารสนเทศ

  9. การถ่ายโอนความรู้และการใช้ประโยชน์การถ่ายโอนความรู้และการใช้ประโยชน์ • รูปแบบการเข้าถึง • ระบบการยืมคืน • ระบบการถ่ายโอนความรู้ • ระบบการนำความรู้มาใช้ประโยชน์ • การสร้างเครือข่าย

  10. องค์ประกอบของ องค์กรแห่งการเรียนรู้(Learning Organization : LO) • การเรียนรู้หรือ พลวัตการเรียนรู้ ( Learning Dynamics ) • องค์การหรือ การปรับเปลี่ยนองค์การ ( Organization Transformation ) • สมาชิกในองค์การ หรือ การเสริมพลังอำนาจ ( People Empowerment )

  11. ความรู้หรือ การจัดการความรู้ ( Knowledge Management ) • เทคโนโลยี หรือ การนำเทคโนโลยีไปใช้ ( Technology Application )

  12. “ การวิจัย ” • การศึกษา ค้นคว้า • ได้องค์ความรู้ใหม่ สิ่งใหม่ๆ • อย่างเป็นระบบ • โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ • เชื่อถือได้ / มีความน่าเชื่อถือ

  13. งานวิจัย Research • ป.โท Thesis • ป.เอก Dissertation Academic research Formal research

  14. งานประจำ สู่ งานวิจัย R to R • วิจัยสถาบัน

  15. งานวิจัยปฏิบัติการ • วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน Classroom Action research Informal research

  16. Routine • การปฏิบัติงาน • ประจำ • สม่ำเสมอ • เป็นปกติ

  17. Routine to Research • การเปลี่ยนแปลง • การพัฒนา • การปฏิบัติงาน

  18. Type of R to R • พัฒนากระบวนการทำงาน • เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน • ลดอัตราการสูญเปล่า • พัฒนานวัตกรรม • รายงานการใช้นวัตกรรม • การประเมินโครงการ:ผู้รับบริการ • การประเมินโครงการ:พัฒนาบุคลากร

  19. ชื่อเรื่อง วิธีวิทยา ตัวแปร กลุ่มเป้าหมาย

  20. บทที่ 1 บทนำ

  21. ความเป็นมาและความสำคัญความเป็นมาและความสำคัญ 1. ความคาดหวัง เป้าหมาย 2. สภาพปัจจุบัน 3. ประเด็นที่ต้องการทำวิจัย และ สิ่งที่คิดว่าจะเกิดหลังทำวิจัย

  22. วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อ 2. สอดคล้องกับชื่อเรื่อง 3. ตอบคำถามวิจัยได้ทั้งหมด

  23. ประโยชน์ที่ได้รับ • ระบุสิ่งที่เป็นประโยชน์ • ทำให้ได้อะไร • ทำให้ทราบอะไร • นำไปใช้ประโยชน์อะไร

  24. นิยามศัพท์ • นิยามตัวแปร • นิยามตามพจนานุกรม • นิยามปฏิบัติการ

  25. บทที่ 2 การศึกษาวรรณกรรม

  26. วรรณกรรม(เขียนอะไร) • แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับตัวแปร • แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับวิธีวิทยา • งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ( กับตัวแปร • กับวิธีวิทยา หรือ กลุ่มตัวอย่าง )

  27. บทที่ 3 วิธีดำเนินการ

  28. วิธีการวิจัย • ระบุแบบแผน • เชิงบรรยาย • เชิงประเมิน • เชิงพัฒนา

  29. ประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง • ระบุประชากร ชัดเจน บอกจำนวน • กลุ่มตัวอย่าง • การกำหนดขนาด • วิธีการสุ่ม

  30. เครื่องมือ • แบบวัดตัวแปรชนิดต่างๆ • แบบสอบถาม • แบบวัดความรู้ • แบบวัดทักษะ

  31. การแปลความหมายคะแนน 1. คะแนนจาก rating scale - Mid point average - ช่วงเท่า 2. คะแนนจากการวัดความรู้ - ร้อยละ - ค่าเฉลี่ย 3. สถิติอ้างอิง

  32. การหาคุณภาพเครื่องมือการหาคุณภาพเครื่องมือ ค่า IOC

  33. สถิติหาคุณภาพเครื่องมือสถิติหาคุณภาพเครื่องมือ ค่า P ค่า r

  34. สถิติหาคุณภาพเครื่องมือสถิติหาคุณภาพเครื่องมือ • ค่า Reli • ค่า  • ค่า KR-20

  35. การเก็บรวบรวมข้อมูล • ใครเก็บ • เก็บที่ไหน • เก็บเมื่อใด

  36. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

  37. การนำเสนอผลการวิเคราะห์การนำเสนอผลการวิเคราะห์ • 1. ตารางข้อมูลทั่วไป • 2. ตารางค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน • 3. ตารางเปรียบเทียบ Pre test - Post test • ตารางศึกษาพัฒนาการ/needs assessment • ตารางเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย • ตารางความสัมพันธ์

  38. บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล เสนอแนะ

  39. การเขียนสรุป • สรุป จากบท 1 , 3 และ 4 • (ให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์) • 2. อภิปรายผล ตามสมมุติฐาน หรือ คำถามวิจัยอ้างตามบท 2 • 3. ข้อเสนอแนะ • จากผลวิจัย • การทำวิจัยครั้งต่อไป

  40. การเขียนรายงาน ปก บทคัดย่อ 1. บทนำ ความเป็นมา วัตถุประสงค์ ประโยชน์ 2. การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 3. วิธีดำเนินการ 4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 5. สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

  41. K M ( การเผยแพร่ การใช้ประโยชน์)

  42. L O ( การจัดระบบ เป็นประจำ ต่อเนื่อง)

  43. สวัสดีครับ

More Related