1 / 20

บทที่ 2 การจูงใจ

บทที่ 2 การจูงใจ. คนทุกคนจะมีกระบวนการที่เหมือนกัน.

emera
Download Presentation

บทที่ 2 การจูงใจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2 การจูงใจ

  2. คนทุกคนจะมีกระบวนการที่เหมือนกันคนทุกคนจะมีกระบวนการที่เหมือนกัน • สิ่งที่มนุษย์ทุกคนเหมือนกัน ก็คือ กระบวนการของพฤติกรรม(The process of behavior) ถึงแม้ว่าแบบของพฤติกรรมต่างๆ(Behavior pattern) ที่แสดงออกของมนุษย์แต่ละคน จะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไปมากมายก็ตาม แต่กระบวนการของพฤติกรรมดังกล่าวจะมีลักษณะที่เหมือนกันเป็นพื้นฐานอยู่ในตัวมนุษย์ทุกคน ซึ่งก็คือ • พฤติกรรมของมนุษย์จะเป็นไปโดยมีข้อสมมติฐาน 3 ประการที่สัมพันธ์กันอยู่ คือ • 1.พฤติกรรมจะเกิดขึ้นได้ก็โดยที่ต้องมีสาเหตุมาทำให้เกิด(Behavior is caused) • 2.พฤติกรรมนี้จะเกิดขึ้นได้ก็โดยที่ต้องมีแรงกระตุ้นสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระตุ้นทำให้เกิด(Behavior is motivated) • 3.พฤติกรรมนี้จะเกิดขึ้นได้ก็โดยมีจุดมุ่งหมายเสมอ(Behavior is gold-directed)

  3. ปัจจัยที่ทำให้คนมีลักษณะแตกต่างกันปัจจัยที่ทำให้คนมีลักษณะแตกต่างกัน • สามารถแบ่งได้เป็น 2 ปัจจัย คือ • 1.ปัจจัยที่เกี่ยวกับนอกหน้าที่การงานทั่วไป • 2.ปัจจัยที่เกี่ยวกับการทำงาน

  4. ทฤษฎีการจูงใจของ Maslow

  5. ทฤษฎีการจูงใจว่าด้วย EGR ของ Alderfer • Alderfer เห็นว่า ความต้องการของมนุษย์น่าจะแยกเป็น 3 ประเภท ซึ่งเห็นว่าจะใช้สะดวกและตรงกับความเป็นจริงมากกว่า ซึ่งความต้องการของมนุษย์แบ่งเป็น 3 ประเภท ประกอบด้วย E(Existence) หรือความต้องการอยู่รอด R(Relatedness)หรือความต้องการมีความสัมพันธ์ทางสังคม และ G(Growth) หรือความต้องการก้าวหน้าและเติบโต

  6. ทฤษฎี ERG นี้ จะมีข้อสมมุติฐาน 3 ประการที่เป็นกลไกสำคัญอยู่คือ • 1. ความต้องการที่ได้รับการตอบสนอง (Need satisfaction) • 2. ขนาดของความต้องการ (Desire strength) • 3. ความต้องการที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (Need frustration)

  7. ทฤษฎีการส่งเสริมแรงของการจูงใจทฤษฎีการส่งเสริมแรงของการจูงใจ • การเสริมแรงทางบวก • การเสริมแรงทางลบ

  8. ทฤษฎีการต้องการประสบผลสำเร็จ (The need to achieve theory) • ทฤษฎีความต้องการของมนุษย์อีกอย่างหนึ่งเรียกว่า ทฤษฎีการต้องการประสบผลสำเร็จทั้ง 3 อย่างคือ ความสำเร็จ(achievement) อำนาจ(power) และการมีสายสัมพันธ์(affliliation) เป็นทฤษฎีที่กำหนดขึ้นโดย David C. McCelland และ J.W. Atkinson ตามทฤษฎีนี้เชื่อว่า โดยปกติแล้วความต้องการที่มีอยู่ในตัวคนจะมีเพียง 2 ชนิด คือ การต้องการมีความสุขสบาย และต้องการการปลอดจากการเจ็บปวด

  9. การจูงใจคนในการทำงาน • การจูงใจ ขวัญของคนงาน และผลผลิต จะมีความสัมพันธ์กันเสมอ ถ้าหากขวัญของคนงานดีหรืออยู่สูงแล้ว ก็จะทำให้ผลผลิตสูงขึ้นด้วย กล่าวคือ ถ้าบุคคลใดบุคคลหนึ่งได้มองเห็นช่องทางหรือโอกาสที่ตนจะสามารถตอบสนองสิ่งจูงใจที่ตนมีอยู่แล้ว ก็จะทำให้ขวัญของเขาดี ดังนั้น การที่ฝ่ายจัดให้คนงานได้มีโอกาสตอบสนองสิ่งจูงใจของตนแล้ว ขวัญของพนักงานก็จะสูง ผลผลิตก็จะสูงและดีตามไปด้วย

  10. ข้อสมมุติฐานของผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับคน-McGregorข้อสมมุติฐานของผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับคน-McGregor • Theory X ลักษณะของคนโดยทั่วไปจะไม่ชอบการทำงาน และจะพยายามหลีกเลี่ยงหรือบิดพลิ้วเมื่อมีโอกาส • Theory Y รักงาน พยายามเรียนรู้และปรับปรุงงาน ใฝ่หาความรับผิดชอบ

  11. ทฤษฎีการจูงใจของ Herzberg

  12. กลุ่มทฤษฎีที่เน้นกระบวนการของการจูงใจกลุ่มทฤษฎีที่เน้นกระบวนการของการจูงใจ กลุ่มทฤษฎีนี้ได้แก่ • ทฤษฎีการตั้งเป้าหมายของเอ็ดวิน ล็อค • ทฤษฎีความคาดหวังของวิคเตอร์ วรูม • ตัวแบบการจูงใจของพอร์ทเตอร์และลอเลอร์ • ทฤษฎีความเสมอภาคของ เจ. สเตซี อาดามส

  13. ทฤษฎีการตั้งเป้าหมายของล็อคทฤษฎีการตั้งเป้าหมายของล็อค • การตั้งเป้าหมายในลักษณะเฉพาะเจาะจงเพื่อการปฎิบัติงานโดยทั่วไปจะนำไปสู่ผลผลิตที่ดีกว่า • เป้าหมายที่ยากและมีลักษณะท้าทายจะดีกว่าเป้าหมายที่ง่าย • การมีส่วนร่วม ( Participation ) นั้นก็นำไปสู่การปฎิบัติงานที่ดีขึ้น

  14. ทฤษฎีความคาดหวัง หรือ ทฤษฎีวี ( VIE ) ของ วรูม • จำนวนที่ประกอบกันขึ้นเป็นความชอบ ( Valence ) • ความเป็นเครื่องมือ ( Instrumentality ) • ความคาดหวัง ( Expectancy )

  15. ตัวแบบการจูงใจของพอร์ทเตอร์และลอเลอร์ ตัวแบบการจูงใจของพอร์ทเตอร์และลอเลอร์ • เป็นตัวแบบเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการปฎิบัติงาน ( Performance ) กับความพึงพอใจ (Satisfication ) • การจูงใจ (ความพยายามหรือพลัง) มิใช่ความพึงพอใจในงาน และการจูงใจเองก็มิใช่การปฎิบัติงาน ตรงกันข้าม การจูงใจ ความพึงพอใจ และ การปฎิบัติงานนั้นต่างก็เป็นอิสระจากกัน แต่ก็สัมพันธ์กันในบางลักษณะ

  16. ทฤษฎีความเสมอภาคของอาดามสทฤษฎีความเสมอภาคของอาดามส • การทุ่มเทในการปฎิบัติงานและความพึงพอใจนั้นเป็นเรื่องของความเสมอภาค ( หรือ ความไม่เสมอภาค) ซึ่งบุคคลรับรู้ในสถานการณ์ของการทำงานหนึ่งๆ ความเสมอภาคจะมีอยู่ก็ต่อเมื่อบุคคลรับรู้สัดส่วนของผลตอบแทนที่ตนได้จากองค์การกับสิ่งที่เขาทุ่มเทให้กับองค์การ เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับสัดส่วนของผลตอบแทนที่ผู้อื่นได้จากองค์การกับสิ่งที่ผู้อื่นทุ่มเทให้กับองค์การนั้นเท่ากัน • ผลตอบแทนที่ตนได้จากองค์การ ≥ ผลตอบแทนที่ผู้อื่นได้จากองค์การ สิ่งที่ตนได้ทุ่มเทให้กับองค์การ สิ่งที่ผู้อื่นได้ทุ่มเทให้กับองค์การ

  17. ทฤษฎีความเสมอภาคของอาดามส(ต่อ)ทฤษฎีความเสมอภาคของอาดามส(ต่อ) • ความไม่เสมอภาคจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลรับรู้ว่าสัดส่วนของผลตอบแทนที่ตนได้จากองค์การกับสิ่งที่ตนทุ่มเทให้กับองค์การกับสัดส่วนของผลตอบแทนที่ผู้อื่น ได้จากองค์การกับสิ่งที่ผู้อื่นทุ่มเทให้กับองค์การนั้นไม่เท่ากัน • ผลตอบแทนที่ตนได้จากองค์การ ≠ ผลตอบแทนที่ผู้อื่นได้จากองค์การ สิ่งที่ตนได้ทุ่มเทให้กับองค์การ สิ่งที่ผู้อื่นได้ทุ่มเทให้กับองค์การ

  18. จากทฤษฎีสู่การประยุกต์จากทฤษฎีสู่การประยุกต์ • การตระหนักในความแตกต่างของเอกบุคคล • การจัดคนให้เหมาะกับงาน • การใช้เป้าหมายเพื่อการจูงใจ

  19. เครื่องมือหรือสิ่งต่างๆที่จะใช้จูงใจเครื่องมือหรือสิ่งต่างๆที่จะใช้จูงใจ • 1. เทคนิคในการควบคุมงาน (supervisory techniques) • 2. การใช้อำนาจหน้าที่(authority) • 3. การให้ผลตอบแทนที่เป็นตัวเงินหรือที่สามารถตีค่าเป็นเงินได้ • 4. ผลตอบแทนอื่นๆที่มิใช่ตัวเงิน

  20. จบการนำเสนอ

More Related