520 likes | 1k Views
ว่าที่ น.ท.ชูชาติ กาญจนคเชนทร์ หน.กำลังพลประจำการ กทพ.กพ.ทร. นรจ. ปี 2519 ประจำ กร. เสมียน ร.ล.ทยานชล กปด.กร. เจ้าหน้าที่ทะเบียนและประวัติ แผนกทะเบียนและประวัติ กสม.กพ.ทร. ประจำแผนกบัตรประจำตัว กสม.กพ.ทร. ประจำแผนกบำเหน็จความชอบ กสม.กพ.ทร. ประจำแผนกกำลังพลประจำการ กทพ.กพ.ทร.
E N D
ว่าที่ น.ท.ชูชาติ กาญจนคเชนทร์หน.กำลังพลประจำการ กทพ.กพ.ทร. • นรจ. ปี 2519 • ประจำ กร. • เสมียน ร.ล.ทยานชล กปด.กร. • เจ้าหน้าที่ทะเบียนและประวัติ แผนกทะเบียนและประวัติ กสม.กพ.ทร. • ประจำแผนกบัตรประจำตัว กสม.กพ.ทร. • ประจำแผนกบำเหน็จความชอบ กสม.กพ.ทร. • ประจำแผนกกำลังพลประจำการ กทพ.กพ.ทร. • หน.กำลังพลประจำการ กทพ.กพ.ทร.
หัวข้อวิชา ระเบียบ ทร.ว่าด้วยประวัติรับราชการ พ.ศ.2538
ความมุ่งหมาย • เพื่อให้ นทน.ทราบถึงวิธีการจัดทำ การดำเนินการเกี่ยวกับประวัติต่าง ๆ อย่างถูกต้องและนำไปปฏิบัติให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน
ข้าราชการ หมายความว่า นายทหารสัญญาบัตร นายทหารประทวน ข้าราชการกลาโหมพลเรือนชั้น สัญญาบัตรและต่ำกว่าชั้นสัญญาบัตร พลทหารประจำการ นักเรียนในสังกัด กห. และลูกจ้างประจำ ทหารกองประจำการ หมายความว่า ทหารที่เข้ารับราชการในกองประจำการตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร
แบบของประวัติ แบ่งออกเป็น 2 แบบ แบบ 1 ใช้สำหรับข้าราชการ แบบ 2 ใช้สำหรับทหารกองประจำการ
หน่วยจัดทำประวัติ • กพ.ทร. (กสม.) - นายทหารสัญญาบัตร - ข้าราชการกลาโหมพลเรือนชั้นสัญญาบัตร * จัดทำคนละ 2 เล่ม * - กพ.ทร. เก็บ 1 เล่ม - หน่วยต้นสังกัด 1 เล่ม (กพ.ทร.จัดส่งไปให้)
2. ส่วนราชการต้นสังกัด • นายทหารประทวน • ข้าราชการกลาโหมพลเรือนต่ำกว่าชั้นสัญญาบัตร • พลทหารประจำการ • ลูกจ้างประจำ • ทหารกองประจำการ * จัดทำคนละ 2 เล่ม * • ต้นสังกัดเก็บรักษาไว้ 1 เล่ม • ส่งให้ กพ.ทร. 1 เล่ม
3. สถานศึกษาต่าง ๆ • นักเรียนในสังกัด * จัดทำคนละ 2 เล่ม * เมื่อสำเร็จการศึกษาและบรรจุเข้ารับราชการ • ส่งประวัติให้ส่วนราชการต้นสังกัดของเจ้าของประวัติ 1 เล่ม • ส่งให้ กพ.ทร. 1 เล่ม
เมื่อทหารกองประจำการเลื่อนฐานะเป็นนายทหารประทวน ให้ส่วนราชการต้นสังกัดจัดทำประวัติ ขึ้นใหม่ (เปลี่ยนจาก แบบ 2 เป็น แบบ 1) * จัดทำคนละ 2 เล่ม * • ต้นสังกัด เก็บ 1 เล่ม • ส่ง กพ.ทร. 1 เล่ม
การบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ลงในประวัติรับราชการ(ปฎิบัติตามคำชี้แจง)
การตรวจสอบประวัติรับราชการการตรวจสอบประวัติรับราชการ • ส่วนราชการที่เก็บรักษาประวัติรับราชการ มีหน้าที่รับผิดชอบในการบันทึกและตรวจสอบประวัติ • ประวัติรับราชการถือเป็นเอกสารลับ • เจ้าของประวัติ ต้องไปตรวจสอบประวัติของตนเองที่ กพ.ทร.ได้ปีละ 1 ครั้ง (ในเดือนที่ตนเกิด)
การเก็บรักษาประวัติรับราชการเมื่อเจ้าของประวัติออกจากราชการหรือถึงแก่กรรมการเก็บรักษาประวัติรับราชการเมื่อเจ้าของประวัติออกจากราชการหรือถึงแก่กรรม • ผู้บังคับบัญชาต้นสังกัด บันทึก ปิดท้ายประวัติ • ส่งให้ กพ.ทร.เก็บรักษา
ทหารกองประจำการ ปลดออกจากประจำการหรือถึงแก่กรรม • ส่วนราชการต้นสังกัด เก็บรักษา
หัวข้อวิชา • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการแก้ไข วัน เดือน ปีเกิด ในทะเบียนประวัติรับราชการ พ.ศ.2548
ข้าราชการผู้ใด มีสิทธิจะได้รับบำเหน็จบำนาญ เนื่องจากการเกษียณอายุในปีงบประมาณใดเห็นว่า วัน เดือน ปีเกิดของตนตามที่ได้รับแจ้งนั้น - ไม่ถูกต้อง - ประสงค์จะขอแก้ไข - ยื่นคำขอแก้ไข วัน เดือน ปีเกิด (ตามแบบท้ายระเบียบ) - ภายในเดือน ธ.ค. ของปีงบประมาณนั้น
ข้าราชการผู้ใดประสงค์จะขอแก้ไข วัน เดือน ปีเกิดในทะเบียนประวัติ ให้ยื่นคำขอแก้ไข พร้อมหลักฐานต้นฉบับสูติบัตรหรือทะเบียนคนเกิด - ยื่นเมื่อไรก็ได้ - แต่ต้องไม่ช้ากว่าในปีงบประมาณที่จะเกษียณอายุ (ภายใน ธ.ค.ของปีงบประมาณ)
หาหลักฐานสูติบัตรหรือทะเบียนคนเกิดไม่ได้ - ขอหนังสือรับรองจากส่วนราชการที่มีหน้าที่เก็บรักษา สูติบัตรหรือทะเบียนคนเกิด (เหตุขัดข้อง) • สำเนาทะเบียนบ้าน • หลักฐานการศึกษา • หลักฐานทางทหาร (อย่างใดอย่างหนึ่ง) *ใบสำคัญทหารกองเกิน (แบบ สด.9) *ใบสำคัญทหารกองหนุน (แบบ สด.8) *ทะเบียนกองประจำการ (แบบ สด.3)
แบบคำขอแก้ไขวัน เดือน ปีเกิด ฯลฯ ข้าพเจ้าขอรับรองว่าเอกสารที่แนบเป็นหลักฐานที่ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงทุกประการ (ลงชื่อ) ............................................. ผู้ยื่นคำขอ (..........................)
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ • การนับอายุบุคคล ให้เริ่มนับแต่วันเกิด ในกรณีที่รู้ว่าเกิดในเดือนใดแต่ไม่รู้วันเกิด ให้นับวันที่หนึ่งแห่งเดือนนั้นเป็นวันเกิด แต่ถ้าพ้นวิสัยที่จะหยั่งรู้เดือนและวันเกิดของบุคคลใด ให้นับอายุบุคคลนั้นตั้งแต่วันต้นปีปฏิทิน ซึ่งเป็นปีที่ผู้นั้นเกิด (1 ม.ค.)
หัวข้อวิชา • ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการลงทัณฑ์ ทหารขาดหนีราชการ พ.ศ.2538
ทหาร หมายความว่า ทหารกองประจำการตาม กฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร • ทัณฑ์ หมายความว่า ทัณฑ์ตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร • ในเวลาไม่ปกติ หมายความว่า ในเวลาที่มีการรบ สถานนะสงคราม หรือประกาศใช้กฎอัยการศึก • ในเวลาปกติ หมายความว่า เวลาอื่นที่มิได้มีการรบ สถานนะสงคราม หรือประกาศใช้กฎอัยการศึก
ขาดราชการ หมายความว่า ขาดจากหน้าที่ราชการดังนี้ • ขาดไม่ถึง 24 ชั่วโมง ต่อหน้าราชศัตรู หรือ • ขาดไม่ถึง 3 วัน ในเวลาไม่ปกติ หรือ • ขาดโดยมิได้รับอนุญาต หรือเมื่อพ้นกำหนด อนุญาตลาในเวลาปกติยังไม่ถึง 15 วัน
หนีราชการ หมายความว่า ขาดจากหน้าที่ราชการ ดังนี้ • ขาด 24 ชั่วโมง ต่อหน้าราชศัตรู • ขาดถึง 3 วัน ในเวลาไม่ปกติ หรือ • ขาดโดยมิได้รับอนุญาต หรือเมื่อพ้นกำหนด อนุญาตลาในเวลาปกติ 15 วัน หรือ • ขาดโดยเจตนาจะหลีกเลี่ยงจากราชการ ตามคำสั่ง ให้เคลื่อนกำลังทางบก ทางเรือ หรือทางอากาศไป จากที่ตั้ง หรือคำสั่งเรียกระดมพล
การลงทัณฑ์ • ห้ามลงทัณฑ์เกินอัตรากำหนดทัณฑ์สูงสุดตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร
การนับครั้งขาดราชการ หรือ หนีราชการ
ประมวลกฎหมายอาญาทหาร • นายทหารชั้นสัญญาบัตร ชั้นประทวน ชั้นนายสิบ ชั้นจ่า หรือเป็นพลทหาร (มีความผิดฐานหนีราชการ) - ขาด 24 ชั่วโมง ต่อหน้าราชสัตรู - ขาด 3 วัน ถ้ามิใช่ต่อหน้าราชสัตรู แต่ในเวลาสงครามหรือในเขตที่ใช้กฎอัยการศึก - ขาด 15 วัน ในที่และเวลาอื่นนอกจากที่กล่าวมาแล้ว ท่านว่ามีความผิดฐานหนีราชการ
การส่งรายงานขาดราชการ หนีราชการและกลับ • เมื่อมีทหารกองประจำการ หรือข้าราชการทหารขาดหรือหนีราชการ - ให้หน่วยต้นสังกัดส่งรายงาน ฯ ตามลำดับชั้นถึง กพ.ทร. - ต่อมาเมื่อทหารผู้นั้นกลับจากขาดหรือหนีราชการ ก็ให้รายงานกลับเช่นเดียวกัน
การแก้ไขรายงาน ขาด – หนีราชการ
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยวินัยทหาร พ.ศ.2476 • วินัยทหาร คือ การที่ทหารต้องประพฤติตามแบบธรรมเนียมของทหาร
การลงทัณฑ์ กำหนดเป็น 5 สถาน • ภาคทัณฑ์ • ทัณฑกรรม • กัก • ขัง • จำขัง
ผู้มีอำนาจลงทัณฑ์ • ผู้บังคับบัญชา หรือ • ผู้ซึ่งได้รับมอบอำนาจให้บังคับบัญชาตามที่ กห. ส่วนราชการ ขึ้นตรง กห. กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ กำหนด
รายงานการลงโทษ • แบ่งเป็น 2 ประเภท - ประเภท ก เป็นรายงานการลงโทษ ซึ่งผู้บังคับบัญชาได้จัดการลงอาชญาแก่ผู้กระทำความผิดตามคำพิพากษาของศาล - ประเภท ข เป็นรายงานการลงโทษ ซึ่งผู้บังคับบัญชาผู้มีอำนาจให้สั่งลงทัณฑ์แก่ผู้กระทำความผิดตาม พ.ร.บ.วินัยทหาร
การเสนอรายงานการลงโทษการเสนอรายงานการลงโทษ • ถ้าข้าราชการสังกัดหน่วยใดถูกลงอาญาหรือถูกลงทัณฑ์ ข้าราชการต่ำกว่าชั้นสัญญาบัตร * ให้ผู้บังคับบัญชาของหน่วยนั้น เสนอรายงานการลงโทษเป็นรายงานประจำเดือน เสนอไปตามลำดับชั้น จนถึง หน.นขต.ทร. * หน.นขต.ทร. รวบรวมรายงานเสนอถึง ทร. (กพ.ทร.) ภายใน 15 วันของเดือนถัดไป
ข้าราชการชั้นสัญญาบัตรข้าราชการชั้นสัญญาบัตร * ให้แยกต่างหากจากพวกต่ำกว่าชั้นสัญญาบัตร ผนึกรายงานนั้นเป็นลับ * เสนอรายงานไปตามลำดับชั้นจนถึง ทร. (กพ.ทร.) ทันที * ทร.เสนอไปให้ รมว.กห.เพื่อทราบทุกราย
สิทธิประโยชน์กำลังพล กองทัพไทย
ร่าง พ.ร.บ.สิทธิประโยชน์กำลังพลกองทัพไทย ผ่านสภา • ร่าง พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่....) พ.ศ.......... (เดิม พ.ศ.2494) • ร่าง พ.ร.บ.เงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง (ฉบับที่..) พ.ศ.... (เดิม พ.ศ.2538) • ร่าง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการทหาร (ฉบับที่....) พ.ศ.......... (เดิม พ.ศ.2521)
ร่าง พ.ร.บ.ดังกล่าว ได้รับความเห็บชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เมื่อ 20 ธ.ค.50 โดยจะมีผลบังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจาเป็นต้นไป
สรุปสิทธิประโยชน์ของ ร่าง พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญ ที่แก้ไข • มาตรา 46 บำนาญเหตุทุพพลภาพที่ได้รับรวมกับบำนาญปกติ ถ้ามีจำนวนเงินรวมกันไม่ถึงเดือนละ 15,000 บาท ให้ได้รับบำนาญพิเศษเพิ่มขึ้นอีกจนครบ 15,000 บาท • ของเดิม ได้รับ 2 ประเภท บำนาญปกติและบำนาญพิเศษ (คิดตามเวลาราชการ)
สรุปสิทธิประโยชน์ของร่าง พ.ร.บ.เงินเดือน และเงินประจำตำแหน่ง ที่แก้ไข • ยกเลิกบัญชีอัตราเงินเดือนข้าราชการทหาร ทหารกองประจำการและนักเรียนในสังกัด กห. ฯ ท้าย พ.ร.บ.เงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ.2538 (แยกต่างหาก)
สรุปสิทธิประโยชน์ของ ร่าง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการทหาร ที่แก้ไข • บุตร หรือคู่สมรสที่มิได้สมรสใหม่ หรือบิดา มารดา ของข้าราชการทหารและทหารกองประจำการ ที่เสียชีวิต เนื่องจากการรบหรือการปฏิบัติหน้าที่ราชการ อาจได้รับสิทธิในการบรรจุหรือแต่งตั้งเป็นข้าราชการทหาร พนักงานหรือลูกจ้างในหน่วยงาน
นายทหารประทวนยศตั้งแต่ จ่าสิบตรี พันจ่าตรี พันจ่าอากาศตรี ถึง จ่าสิบเอก พันจ่าเอก พันจ่าอากาศเอก ให้ได้รับเงินเดือน ระดับ ป.2 ถึง 3 • นายทหารประทวนยศจ่าสิบเอก พันจ่าเอก พันจ่าอากาศเอก อัตราเงินเดือน จ่าสิบเอกพิเศษ พันจ่าเอกพิเศษ พันจ่าอากาศเอกพิเศษ ให้ได้รับเงินเดือน ระดับ ป.3 ถึง น.2
นายทหารสัญญาบัตรยศ ร้อยตรี เรือตรี เรืออากาศตรี ถึง ร้อยเอก เรือเอก เรืออากาศเอก ให้ได้รับเงินเดือน ระดับ น.1 ถึง น.2 • นายทหารสัญญาบัตรยศ พันตรี นาวาตรี นาวาอากาศตรี ให้ได้รับเงินเดือน ระดับ น.2 ถึง น.3 • นายทหารสัญญาบัตรยศ พันโท นาวาโท นาวาอากาศโท ให้ได้รับเงินเดือน ระดับ น.3 ถึง น.4
นายทหารสัญญาบัตรยศ พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ให้ได้รับเงินเดือน ระดับ น.4 ถึง น.5 • นายทหารสัญญาบัตรยศ พลจัตวา พลเรือจัตวา พลอากาศจัตวา หรือพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก อัตราเงินเดือนพันเอกพิเศษ นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษ ให้ได้รับเงินเดือน ระดับ น.5 ถึง น.6
ข้าราชการทหารตามที่กล่าวมาแล้ว ผู้ใดได้รับเงินเดือนเต็มขั้นสูงสุดของระดับที่ตนได้รับอยู่ขณะนั้น ในปีงบประมาณใด หากผ่านการประเมินสมรรถภาพความประพฤติ ความรู้ความสามารถและผลการปฏิบัติหน้าที่แล้ว ให้มีสิทธิได้รับเงินเดือนในระดับที่สูงขึ้นตามที่กำหนดไว้ แล้วแต่กรณีอีกหนึ่งระดับ โดยเริ่มต้นให้ได้รับเงินเดือนในขั้นใกล้เคียงไม่ต่ำกว่าเงินเดือนที่ได้รับอยู่เดิม
บัญชีอัตราเงินเดือนท้าย พ.ร.บ. ให้ใช้บังคับตั้งแต่ 1 ต.ค.51 เป็นต้นไป
ประโยชน์ที่จะได้รับตามบัญชีเงินเดือนใหม่ประโยชน์ที่จะได้รับตามบัญชีเงินเดือนใหม่ • แยกบัญชีเงินเดือนและเงินตำแหน่งของทหารออกจากพลเรือน • เงินเดือนพลทหาร จากเดิม พ.1 ชั้นที่ 20 (ชั้นสูงสุด) ขยายไปถึงชั้นที่ 25 (เพิ่ม 5 ขั้น) • เงินเดือนพลอาสาสมัคร จากเดิม พ.2 ชั้นที่ 15 (ชั้นสูงสุด) ขยายไปถึงชั้นที่ 30 (เพิ่ม 15 ขั้น)
เงินเดือน จ่าตรี ถึง จ่าเอก จากเดิม ป.1 ชั้นที่ 29 (ชั้นสูงสุด) ขยายไปถึงชั้นที่ 37 (เพิ่ม 8 ขั้น) • เงินเดือน พันจ่าเอก จากเดิม ป.2 ชั้นที่ 25 (ชั้นสูงสุด) ขยายไปถึงชั้นที่ 32 (เพิ่ม 7 ขั้น) • เงินเดือน พันจ่าเอกพิเศษ ป.3 ชั้นที่ 21 (ชั้นสูงสุด) ขยายไปถึงชั้นที่ 26 (เพิ่ม 5 ขั้น)
เงินเดือน เรือเอก น.1 ชั้นที่ 30 (ชั้นสูงสุด) ขยายไปถึงชั้นที่ 35 (เพิ่ม 5 ขั้น)
สรุป ตอบข้อซักถาม