1 / 17

ยา-สารเคมี

ยา-สารเคมี. ดร. บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล. วิธีการใช้ยา-สารเคมี. 5 วิธี ~ จุ่ม-ไหลผ่าน- แช่-ฉีด-ผสมอาหาร 1) จุ่ม ( Dip ) สารเข้มข้นสูง-ใช้เวลาสั้น (นาที) ปลาน้อยตัว… อาจตาย 2) ไหลผ่าน ( Flush ) บ่อ-อ่างเล็ก; ใช้น้ำพอควร ใช้เวลาเป็นชั่วโมง…อาจเป็นพิษ-ตาย. 3) แช่ ( Bath )

efrat
Download Presentation

ยา-สารเคมี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยา-สารเคมี ดร. บัณฑิตย์ เต็งเจริญกุล

  2. วิธีการใช้ยา-สารเคมี • 5 วิธี ~ จุ่ม-ไหลผ่าน-แช่-ฉีด-ผสมอาหาร • 1) จุ่ม (Dip) • สารเข้มข้นสูง-ใช้เวลาสั้น (นาที) • ปลาน้อยตัว… อาจตาย • 2) ไหลผ่าน (Flush) • บ่อ-อ่างเล็ก; ใช้น้ำพอควร • ใช้เวลาเป็นชั่วโมง…อาจเป็นพิษ-ตาย

  3. 3) แช่ (Bath) • บ่อ-อ่างใหญ่ • ความเข้มข้นต่ำ-ปลอดภัย • 4) ผสมอาหาร (Oral) • ใช้เวลารักษา; ยาที่ปลาได้รับ • ค่าใช้จ่ายสูง; ประสิทธิภาพ • 5) ฉีด (injection) • ค่าใช้จ่ายสูง; เฉพาะทำวัคซีน • ประสิทธิภาพ-ข้อมูล

  4. *การคำนวณ- ตวง-วัด • 1 cc = 1g = 1 ml • 1 L = 1000 ml • 1000 L = 1000 kg = 1 ton = 1 m3 (คิว) • ppm = mg/L = g/1000L • (ppm* = Partspermillion) • 1 % = 10 g/ L = 10 4=10,000ppm**

  5. *การคำนวณ- ตวง-วัด • 1 ไร่ = 400 ตรว. = 4 งาน= 1600 ตรม. • 1 Hectre = 2.47 Acre = 10,000 m2 ปริมาตร = กว้าง x ยาว x ลึก

  6. วา = 2 เมตร1 ไร่=400 ตารางวา=40 เมตร X 40 เมตร1 ไร่=1,600 ตารางเมตร 40 เมตร 40 เมตร

  7. ชนิดยา-สารเคมีที่มักใช้ชนิดยา-สารเคมีที่มักใช้ • คลอแรมเฟนิคอล • แอมพิซิลลิน • อะมอกซีซิลลิน • ซัลฟา • นอร์ฟลอกซาซิน • เอนโรฟลอกซาซิน • ฟูราโซลิโดน • อีริโทรมัยซิน • มีเบนดาโซล • ยาเหลือง (Acriflavin) • ปูนขาว (Ca (OH) 2) • เกลือ (NaCl) • จุนสี (CuSO4) • ดิพทีเร็กซ์ • ฟอร์มาลิน • มาลาไคท์กรีน • ด่างทับทิม (KMnO4)

  8. ชนิดยา-สารเคมีที่มักใช้ชนิดยา-สารเคมีที่มักใช้ • ยาเหลือง (Acriflavin) • ผงสีเหลือง ละลายน้ำ • ขนส่ง 1-3 ppm • ป้องกัน ~ 10 ppm, 2-12 hrs

  9. ปูนขาว (Calcium hydroxide ) • Hydrated lime, Lime water • ผงสียาว, ละลายน้ำได้ • pH • Alkalinity • Plankton • 60-100 kg/ไร่ • คลอรีน • ฆ่าจุลชีพ • 6-10 ppm, 30 min • อาจใช้สูงถึง 20 ppm

  10. จุนสี • ฆ่าโปรโตซัว-สาหร่าย • ความกระด้าง … พิษ • 0.0001 ppmโปรโตซัว/ 3-4 ppm สาหร่าย • ดิพทีเร็กซ์ • ผงสีขาว, ละลายน้ำได้ • pH … พิษ • # ปลิงใส เห็บปลา หนอนสมอ • ปลอดภัย • 0.25 ppm

  11. ฟอร์มาลิน • Drop O2 • # Protozoa, Nematode, Fungi • ไข่ @ 1500-2000 ppm, 15 min • ไหลผ่าน 125-250 ppm, 1 hr • แช่ยาว 15-40 ppm • มาลาไคท์กรีน • ก่อมะเร็ง พิษต่อเด็ก-ภูมิคุ้มกัน • ความปลอดภัยต่ำ (# Fungi, Ich.) • รา @ 5 ppm, 15 min • แช่ยาว 0.1-0.25 ppm

  12. ด่างทับทิม (KMnO4) • ความปลอดภัยต่ำ • # Protozoa, Nematode, • Fungi, Bacteria • แช่ 2-4 ppm 2-4 นาที • เกลือ (NaCl) • ขนส่ง 0.1-0.2 % • NH3, NO2- • Px @ 200-300 kg / Rai • เห็บปลา 3 %,โปรโตซัว 0.1-0.5%

  13. ไอโอดีน • ความปลอดภัยสูงต่อกุ้ง • ไข่ปลากุ้ง 100 ppm • ฆ่าเชื้อในน้ำ 2-3 ppm • อัลดีไฮน์-ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ • 1-2 ppm • ฆ่าแบคทีเรีย โปรโตซัว

  14. ซาโปนิน • กากชา...ฆ่าปลา • แช่ 25-100 ppm • เบนซาโคเนียมคลอไรด์ • 0.6-1 ppm, 8 ppm ฆ่า Vibrio • 40 ppm 12 hr. ฆ่า Aeromonads • ขนาดสูง ... ฆ่าแพลงค์ตอน-ลูกกุ้ง

  15. ยาต้านจุลชีพ • ทดสอบความไวต่อยา • การเลือกใช้ • ฤทธิ์กว้าง • ลักษณะการใช้ • การกระจาย-ขับออก • พิษ-ตกค้าง • ราคา-คุ้ม

  16. ยาต้านจุลชีพ • คลอแรมเฟนิคอล • แอมพิซิลลิน • อะมอกซีซิลลิน • ซัลฟา • นอร์ฟลอกซาซิน • เอนโรฟลอกซาซิน • ฟูราโซลิโดน • อีริโทรมัยซิน

  17. ยาซึม-ยาสลบ • ละลายน้ำดี-ผลข้างเคียงน้อย • การเลือกใช้ • ฤทธิ์กว้าง • ลักษณะการใช้ • การกระจาย-ขับออก • พิษ-ตกค้าง • ราคา-คุ้ม • ยาที่ใช้ • MS-222 • Quinaldine • 2-Phenoxyethanol • Cloveoil • etc.

More Related