1 / 41

การป้องกันความผิดพลาด Mistake- Proofing

การป้องกันความผิดพลาด Mistake- Proofing. การควบคุมคุณภาพของเสียเป็นศูนย์ ( ZQC ). 1. อะไรทำให้เกิดของเสีย. 2. ระบบ Poka -Yoke. 3. วิธีการใช้งานระบบ Poka - Yoke. ตัวอย่างการนำระบบ Poka - Yoke ไปใช้. 4. 5. หัวข้อที่จะนำเสนอ. 1. 2. 3.

edie
Download Presentation

การป้องกันความผิดพลาด Mistake- Proofing

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การป้องกันความผิดพลาด Mistake- Proofing

  2. การควบคุมคุณภาพของเสียเป็นศูนย์ (ZQC) 1 อะไรทำให้เกิดของเสีย 2 ระบบ Poka-Yoke 3 วิธีการใช้งานระบบ Poka- Yoke ตัวอย่างการนำระบบ Poka- Yoke ไปใช้ 4 5 หัวข้อที่จะนำเสนอ

  3. 1 2 3 คือ แนวทางในการควบคุมคุณภาพ (QC) เพื่อมุ่งหวังให้ของเสียเป็นศูนย์ ของเสียสามารถป้องกันได้โดยการควบคุมสมรรถนะของกระบวนการให้ดี จนไม่ทำให้เกิดของเสียขึ้นได้ เป็นแนวทางในการป้องกันข้อผิดพลาดไม่ให้ความผิดพลาดลุกลามหรือเปลี่ยนสภาพกลายเป็นของเสีย การควบคุมคุณภาพของเสียเป็นศูนย์ (ZQC)คืออะไร

  4. การควบคุมคุณภาพของเสียเป็นศูนย์ (ZQC)คืออะไร ของเสียเพียงแค่ชิ้นเดียวก็อาจทำให้บริษัทเสียชื่อเสียงได้

  5. เพื่อความพึงพอใจของลูกค้า และความภักดีของลูกค้าที่มีต่อบริษัท ลูกค้า ต้นทุนในการผลิตลดลงทั้งในส่วนของการการกำจัดทำลายของเสีย หรือการแก้ไขชิ้นงาน ต้นทุน สินค้าคงคลัง ไม่ต้องเก็บสินค้าคงส่วนเกินเพื่อสำรองไว้ ทำให้สิ้นเปลืองค่าเก็บรักษา ทำไมต้องทำของเสียให้เป็นศูนย์

  6. ZQC ช่วยให้ทำงานง่ายขึ้นอย่างไร • ระบบ ZQC ใช้เครื่องมือป้องกันการผิดพลาดเพื่อไม่ให้ความผิดพลาดลุกลามกลายเป็นของเสีย • การใช้ความพยายามในการทำงานและการแก้ไขงานลดน้อยลง • การผลิตที่ไม่มีของเสียทำให้ชื่อเสียงของบริษัทดีในสายตาลูกค้า จะทำให้พนักงานรู้สึกว่ามีความมั่นคงด้วย

  7. ZQC ช่วยให้ทำงานง่ายขึ้นอย่างไร ZQC ทำให้การทำงานง่ายขึ้น

  8. วิธีการทำงานไม่เหมาะสมวิธีการทำงานไม่เหมาะสม ผู้ปฏิบัติงาน ความผันแปรในการปฏิบัติการมาก เกินไป เครื่องจักรสึกหรอ การใช้วัตถุดิบชำรุด อะไรทำให้เกิดของเสีย

  9. การปรับปรุงคุณภาพแบบดั้งเดิมการปรับปรุงคุณภาพแบบดั้งเดิม

  10. การปรับปรุงคุณภาพแบบใหม่การปรับปรุงคุณภาพแบบใหม่

  11. การตรวจสอบเพื่อกำจัดของเสียการตรวจสอบเพื่อกำจัดของเสีย การตรวจสอบเพื่อลดของเสีย 1 2 3 3แนวทางการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ การตรวจสอบเพื่อให้พบของเสีย

  12. การตรวจสอบเพื่อการตัดสินใจการตรวจสอบเพื่อการตัดสินใจ มักเกิดขึ้นที่ส่วนท้ายของกระบวนการหรือหลังจากการปฏิบัติการต่างๆ ตรวจพบของเสียหลังจากที่ได้เกิดขึ้นแล้ว Poka-Yoke

  13. การตรวจสอบเพื่อการตัดสินใจทำให้ตรวจพบของเสียการตรวจสอบเพื่อการตัดสินใจทำให้ตรวจพบของเสีย

  14. การตรวจสอบเพื่อป้อนกลับข้อมูลการตรวจสอบเพื่อป้อนกลับข้อมูล การควบคุมคุณภาพด้วยวิธีทางสถิติ(SQC) การตรวจสอบที่กระบวนการถัดไป การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ด้วยตัวเอง

  15. การควบคุมคุณภาพด้วยวิธีทางสถิติ (SQC) - เป็นการสุ่มตัวอย่างชิ้นงานหลังกระบวนการเพื่อทำการตรวจสอบว่ายอมรับได้ตามมาตรฐานหรือไม่ - มักมีการทำแผนควบคุมเพื่อติดตามผลการตรวจสอบ

  16. การตรวจสอบที่กระบวนการถัดไปการตรวจสอบที่กระบวนการถัดไป - ผู้ปฏิบัติงานที่อยู่กระบวนการถัดไปจะทำการตรวจสอบชิ้นงานทุกชิ้นที่ถูกส่งมา - ถ้าตรวจพบของเสียจะแจ้งกับผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ก่อนหน้าทันที เพื่อแก้ไขก่อนที่จะเกิดของเสียตามมาอีก

  17. การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ด้วยตัวเองการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ด้วยตัวเอง - หากผู้ปฏิบัติงานเป็นผู้ตรวจสอบชิ้นงานเองในการตรวจสอบด้วยตัวเองนั้น ผู้ปฏิบัติงานจะทำการชิ้นงานของตัวเองที่เสร็จแล้วว่ามีข้อบกพร่องหรือไม่ - การตรวจสอบด้วยตัวเองทำให้การป้อนกลับข้อมูลเร็วกว่าการตรวจสอบที่กระบวนการถัดไป

  18. การตรวจสอบ 100% การตรวจสอบ ณ แหล่งกำเนิด ใช้Poka-Yoke เพื่อป้องกันข้อผิดพลาด 4 องค์ประกอบของ ZQC การป้อนข้อมูลกลับทันที ช่วยลดเวลาในการปรับปรุงแก้ไข

  19. การตรวจสอบ ณ แหล่งกำเนิด - การดักจับความผิดพลาดและมีการป้อนข้อมูลกลับ ก่อนกระบวนการจะเริ่ม จึงทำให้ความผิดพลาดไม่มีโอกาสกลายเป็นของเสีย - มีการใช้สลักที่ป้องกันการใส่ชิ้นงานกลับด้าน - ใช้สวิตช์เพื่อทำหน้าที่หยุดเครื่องเมื่อชิ้นงานถูกป้อนบน-ล่าง สลับกัน

  20. การตรวจสอบแบบ 100% เป็นการตรวจสอบ ณ แหล่งกำเนิดต่อชิ้นงานทุกๆชิ้น และต่างจากการควบคุมคุณภาพด้วยวิธีการทางสถิติ (SQC) คือ SQC เป็นแค่เพียงการสุ่ม

  21. วงจรการป้อนกลับของข้อมูลวงจรการป้อนกลับของข้อมูล วงจรการป้อนกลับข้อมูลอย่างรวดเร็ว เพื่อแก้ไขข้อผิดพลาดได้ทันที เกิดขึ้นกับวิธีดั้งเดิม เพราะแบบดั้งเดิมมักเกิดขึ้นที่ปลายกระบวนการ ซึ่งความผิดพลาดต่างๆกลายเป็นของเสียไปแล้ว

  22. ระบบ Poka-Yoke ระบบ ZQC ใช้ติดตั้งอุปกรณ์ Poka-Yoke ที่เครื่องจักรเพื่อทำหน้าที่ตรวจสอบ ณ แหล่งกำเนิดและป้อนกลับข้อมูลอย่างรวดเร็วทุกๆครั้งแทนที่จะหวังพึ่งผู้ปฏิบัติงานให้ตรวจสอบความผิดพลาด ราคาของระบบ Poka-Yoke ไม่แพง สร้างขึ้นมาจากชิ้นส่วนที่ไม่ซับซ้อน

  23. Poka -Yoke ควบคุมกระบวนการได้อย่างไร ระบบข้อความจะหยุดเครื่องจักรทันทีเมื่อมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น

  24. วิธีการใช้งานระบบPoka- Yoke 1.วิธีตรวจสอบการสัมผัส 2.วิธีเทียบกับค่าที่กำหนดไว้ 3. วิธีตรวจสอบขั้นตอนการเคลื่อนไหว

  25. วิธีการใช้งานระบบPoka- Yoke

  26. วิธีการใช้งานระบบPoka- Yoke

  27. วิธีการใช้งานระบบPoka- Yoke ตัวอย่างของวิธีเทียบค่าที่กำหนดไว้ใช้ในระบบ Poka-Yoke

  28. วิธีการใช้งานระบบPoka- Yoke

  29. ประเภทของอุปกรณ์การดักจับใช้งานในระบบ Poka- Yoke

  30. วิธีการใช้งานระบบPoka- Yoke • ตัวอย่างอุปกรณ์การดักจับการสัมผัสทางกายภาพ

  31. อุปกรณ์การดักจับที่ใช้พลังงานอุปกรณ์การดักจับที่ใช้พลังงาน

  32. ตัวอย่างอุปกรณ์การดักจับการเปลี่ยนแปลงสภาวะทางกายภาพตัวอย่างอุปกรณ์การดักจับการเปลี่ยนแปลงสภาวะทางกายภาพ

  33. การป้องกันการเจาะรูผิดตำแหน่งการป้องกันการเจาะรูผิดตำแหน่ง ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง

  34. การป้องกันชิ้นงานที่ยังไม่ถูกกัดไหลเข้าไปในเครื่องจักรการป้องกันชิ้นงานที่ยังไม่ถูกกัดไหลเข้าไปในเครื่องจักร ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง

  35. การป้องกันชิ้นงานกลับด้านการป้องกันชิ้นงานกลับด้าน ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง

  36. การป้องกันเครื่องนับทำงานผิดพลาดการป้องกันเครื่องนับทำงานผิดพลาด ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง

  37. การป้องกันการลืมหยิบแหวนหรือหยิบแหวนซ้อนกันการป้องกันการลืมหยิบแหวนหรือหยิบแหวนซ้อนกัน ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง

  38. การดักจับโบลท์ที่ไม่ถูกทำร่องการดักจับโบลท์ที่ไม่ถูกทำร่อง ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง

  39. การตรวจหาชิ้นงานที่ไม่ถูกเซาะร่องการตรวจหาชิ้นงานที่ไม่ถูกเซาะร่อง ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง

  40. Thank You !

More Related