260 likes | 1.31k Views
บทที่ 3 การเขียนผังงาน ( Flowchart ). ความหมายของผังงาน. ผังงาน ( Flowchart ) คือ แผนภาพที่ใช้แสดงลำดับขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ใช้ภาพสัญลักษณ์สื่อความหมายแทนแต่ละขั้นตอนของการทำงาน ใช้ลูกศรสื่อถึงลำดับขั้นตอนในการทำงาน
E N D
บทที่ 3 การเขียนผังงาน (Flowchart)
ความหมายของผังงาน • ผังงาน (Flowchart) คือ แผนภาพที่ใช้แสดงลำดับขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม • ใช้ภาพสัญลักษณ์สื่อความหมายแทนแต่ละขั้นตอนของการทำงาน • ใช้ลูกศรสื่อถึงลำดับขั้นตอนในการทำงาน • โดยทั่วไปผังงานจะเขียนเมื่อเรามั่นใจแล้วว่า วิธีการประมวลผลนั้นถูกต้องแล้ว • งานบางอย่างไม่จำเป็นต้องเขียนผังงานก็สามารถพัฒนาโปรแกรมได้สำเร็จเช่นกัน
ประโยชน์ของผังงานต่อการเขียนโปรแกรมประโยชน์ของผังงานต่อการเขียนโปรแกรม • ช่วยให้เข้าใจขั้นตอนและลำดับในการทำงานของโปรแกรมอย่างรวดเร็ว • เป็นสื่อกลางระหว่างผู้ออกแบบโปรแกรม นักวิเคราะห์โปรแกรม หรือผู้เขียนโปรแกรม ให้สามารถเข้าใจขั้นตอนทั้งหมดได้ เพราะไม่ใช่ภาษาคอมพิวเตอร์ • สามารถวิเคราะห์ความถูกต้องของโปรแกรมก่อนเขียนโปรแกรมจริง • ช่วยกระจายงานให้โปรแกรมเมอร์หลาย ๆ คน ช่วยเขียนโปรแกรมเป็นส่วน ๆ ได้ • สามารถนำผังลำดับการทำงานของโปรแกรมมาเป็นต้นแบบในการพัฒนาโปรแกรมอื่น ๆ ที่มีลำดับขั้นตอนการทำงานคล้าย ๆ กัน
ข้อจำกัดของผังงาน • ใช้สื่อความหมายระหว่างบุคคลมากกว่าที่จะสื่อกับเครื่อง • ไม่ทราบความสำคัญของแต่ละขั้นตอน • สิ้นเปลือง เพราะใช้กระดาษและอุปกรณ์มาก • ผังงานขนาดใหญ่ ปรับเปลี่ยนแก้ไขทำได้ยาก • ในผังงานจะบอกเพียงลำดับอย่างไร และปฏิบัติงานอะไร • ผังงานไม่สามารถแทนลักษณะคำสั่งในภาษาได้ชัดเจนตรงไปตรงมา
ประเภทของผังงาน • แบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ • ผังงานระบบ (System Flowchart) • ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) • ผังงานระบบ (System Flowchart) • เป็นแผนผังที่แสดงขอบเขตและลำดับขั้นตอนในการทำงานโดยรวม • แสดงภาพกว้าง ๆ ถึงองค์ประกอบที่มีอยู่ในระบบทั้งหมด • ไม่มุ่งเน้นรายละเอียดในการปฏิบัติ • ไม่สามารถนำมาเขียนเป็นโปรแกรมได้
รับข้อมูล โปรแกรม ปรับปรุงข้อมูล แฟ้มข้อมูล ออกรายงาน ประเภทของผังงาน(ต่อ) • ตัวอย่างผังงานระบบ
ประเภทของผังงาน (ต่อ) • ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) • เป็นภาพแผนผังแสดงลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม • แยกออกมาจากผังงานระบบ โดยมีการลงรายละเอียด ใส่วิธีการ และจัดลำดับขั้นตอนของโปรแกรม • ตั้งแต่เริ่มต้นจากการรับข้อมูล ประมวลผล ตลอดจนการแสดงผลลัพธ์การทำงาน
เริ่มต้น รับค่า a,b total=a+b พิมพ์ total จบ ประเภทของผังงาน (ต่อ) • ตัวอย่างผังงานโปรแกรม
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน • ภาพสัญลักษณ์ ได้ถูกกำหนดมาตรฐานขึ้นจาก ANSI (American National Standards Institute) และ ISO (International Standard Organization) • สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่นำมาใช้มีดังนี้
สัญลักษณ์ที่ใช้บ่อยในการเขียนผังงาน • จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของโปรแกรม • ในผังงานแต่ละงานจะมีจุดเริ่มต้นกับจุดสิ้นสุดเพียงอย่างละหนึ่งแห่ง • การประมวลผล • ใช้สำหรับการประมวลผล การกำหนดค่า และการคำนวณ Start End Y=X2
สัญลักษณ์ที่ใช้บ่อยในการเขียนผังงาน(ต่อ) • การรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์ • การรับข้อมูลเข้าและแสดงผลลัพธ์โดยไม่ระบุอุปกรณ์ • การแสดงผลลัพธ์ออกทางเครื่องพิมพ์ Write Y Read A Data
สัญลักษณ์ที่ใช้บ่อยในการเขียนผังงาน(ต่อ) • การตัดสินใจ • มีลูกศรชี้เข้า 1 ทิศทาง ลูกศรชี้ออก 2 ทิศทาง • จุดเชื่อมต่อภายในหน้าเดียวกัน age>=50 N Y จุดเชื่อมต่อไปหน้าอื่น
หลักเกณฑ์ในการเขียนผังงาน • การเริ่มต้นที่ดีควรจะเขียนความต้องการและกระบวนการทำงานออกมาวางเป็นลำดับขั้นตอนเอาไว้ก่อน • ผังงานที่เขียนขึ้นควรชัดเจน ดูง่าย และไม่ควรมีจุดใดที่คลุมเครือสร้างความเข้าใจผิดให้กับผู้เขียนโปรแกรม • การกำหนดทิศทางการทำงานด้วยลูกศร ควรจะมีทิศทางจากบนลงล่าง หรือขวาไปซ้ายเท่านั้น • ใน 1 ภาพสัญลักษณ์เราควรจะใช้เส้นแสดงทิศทางการทำงานเข้าและออกเพียงเส้นเดียว • ในภาพสัญลักษณ์ที่มีการเลือกคำตอบ(Decision) ควรมีเส้นทางของทางเลือกเพียงเส้นทางเดียว
Start Start End End End หลักเกณฑ์ในการเขียนผังงาน(ต่อ) • จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดมีลูกศรออกและเข้าเส้นทางเดียว • ผังงานที่มีความซับซ้อน ควรใช้ตัวเชื่อมมาช่วยลดจำนวนเส้นบอกทิศทาง ไม่ควรให้เส้นบอกทิศทางการทำงานพาดทับกัน • ต้องแน่ใจว่าผังงานมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด
ลักษณะโครงสร้างในการเขียนผังงาน • โครงสร้างโดยทั่วไปในการเขียนผังงานมี 3 รูปแบบ คือ • โครงสร้างแบบลำดับ(Sequence Structure) • โครงสร้างแบบมีการเลือก(Selection Structure) • โครงสร้างแบบทำซ้ำ(Iteration Structure)
ลักษณะโครงสร้างในการเขียนผังงาน(ต่อ) • โครงสร้างแบบลำดับ(Sequence Structure) • เป็นกระบวนการทำงานจากจุดเริ่มต้น เรียงลำดับไปทีละขั้นตอนไปจนถึงจุดสิ้นสุด เป็นโครงสร้างพื้นฐาน พบมากที่สุด • โครงสร้างแบบมีการเลือก(Selection Structure) • มีความซับซ้อนมากกว่าแบบลำดับ โดยจะมีการเลือกเส้นทางการทำงานมากกว่า 1 เส้นทาง • โครงสร้างแบบทำซ้ำ(Iteration Structure) • เป็นโครงสร้างที่ใช้สำหรับกำหนดเงื่อนไขในการทำงาน ถ้าผลลัพธ์ในการทำงานไม่ตรงกับเงื่อนไขที่กำหนดไว้ ก็จะวนกลับไปทำงานในจุดที่กำหนดให้ทำซ้ำนั้นใหม่เรื่อย ๆ จนเมื่อผลลัพธ์ตรงกับเงื่อนไข จึงจะไปทำงานลำดับต่อไป
เริ่มต้น เท็จ ตรวจสอบ เงื่อนไข รับค่า a,b จริง ชุดคำสั่ง total=a+b พิมพ์ total จบ ลักษณะโครงสร้างในการเขียนผังงาน(ต่อ)
เท็จ ตรวจสอบ เงื่อนไข ออกจาการทำซ้ำ จริง ชุดคำสั่งที่ต้อการทำซ้ำ ลักษณะโครงสร้างในการเขียนผังงาน(ต่อ)
แบบฝึกหัดท้ายบท • จงวิเคราะห์งาน และเขียนผังงานจากปัญหาต่อไปนี้ • จงแก้ปัญหาเพื่อหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยม โดยรับข้อมูลจากผู้ใช้ทางแป้นพิมพ์ • เขียนวิเคราะห์ความต้องการ(Requirement Analysis & Feasibility Study) • เขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน Flowchart THE END Next :การเขียนอัลกอริทึม