1 / 34

บทที่ 3 Educational Research Design

บทที่ 3 Educational Research Design. การออกแบบการวิจัยการศึกษา ณรงค์ศักดิ์ บุณยมาลิก nboonyamalik@hotmail.com 081-9119023. วัตถุประสงค์ของการเรียน. เพื่อให้ผู้เรียน สามารถกำหนดโจทย์คำถามในการวิจัยได้หลากหลายรูปแบบ สามารถออกแบบการวิจัยเชิงสำรวจ เชิงความสัมพันธ์ และเชิงทดลองได้

duncan-day
Download Presentation

บทที่ 3 Educational Research Design

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 3Educational Research Design การออกแบบการวิจัยการศึกษา ณรงค์ศักดิ์ บุณยมาลิก nboonyamalik@hotmail.com 081-9119023

  2. วัตถุประสงค์ของการเรียนวัตถุประสงค์ของการเรียน เพื่อให้ผู้เรียน • สามารถกำหนดโจทย์คำถามในการวิจัยได้หลากหลายรูปแบบ • สามารถออกแบบการวิจัยเชิงสำรวจ เชิงความสัมพันธ์ และเชิงทดลองได้ • สามารถออกแบบการศึกษาแบบ case study ได้ • สามารถแยกความแตกต่างของการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพได้ และเลือกออกแบบการวิจัยได้อย่างเหมาะสม

  3. การศึกษาข้อความจริงด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์การศึกษาข้อความจริงด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์

  4. ขั้นตอนการวิจัยโดยทั่วไปขั้นตอนการวิจัยโดยทั่วไป ขั้นกำหนดปัญหาที่ต้องการคำตอบ จากกรอบความรู้ข้อมูลที่มีอยู่ ขั้นออกแบบวิธีการศึกษา และสร้างสมมุติฐานที่เป็นไปได้ ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นสรุปผล และขยายผลการศึกษา

  5. ฐานคติ แนวคิด ของการวิจัยในเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)และการวิจัยในเชิงปริมาณ (Quantitative Research)

  6. กระบวนทัศน์การวิจัย สมมติฐานเหล่านี้เป็นรากฐานของแนวทางในการวิจัยต่างๆ แนววิจัยเชิงปริมาณ แนววิจัยเชิงคุณภาพ

  7. ลักษณะการวิจัย

  8. กำหนดเป็นคำถาม ที่ต้องการคำตอบ ลงมือศึกษา แล้วจะลงศึกษาอย่างไร จึงจะได้ข้อคำตอบ สรุปผลการวิจัย การออกแบบวิธีการศึกษาเพื่อให้ได้คำตอบที่ต้องการ วัตถุประสงค์ของการวิจัย

  9. วิธีการศึกษา เชิงปริมาณ • สำรวจ • ความสัมพันธ์ • ศึกษาเชิงสาเหตุ • ทดลอง เชิงคุณภาพ • สำรวจและเล่าเหตุการณ์ • กรณีศึกษา • ศึกษาแบบชาติพันธ์ • วิเคราะห์เอกสาร Mixed method

  10. อะไรบ้างที่เราอยากรู้ อยากค้นหา • ถ้าเรื่องนั้นเริ่มจากศูนย์ เราก็ต้องรู้จักสิ่งนั้น ๆ ให้ได้ก่อน เช่น คุณภาพการศึกษาคืออะไร Tsunami คืออะไร KM คืออะไร ฯลฯ เป็นการศึกษา what และ how much • ถ้าเรารู้สิ่งนั้นแล้ว ขั้นต่อไปคือการหาว่าสิ่งนั้นเกี่ยวข้องกับสิ่งอื่น เช่น ICTส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาไหม หรือ ผลจาก Tsunamiมีอะไรบ้าง การจัด KM ในองค์กรทำอย่างไร เป็นการศึกษา how และ why • ถ้าเรารู้จักเรื่องราวต่าง ๆ มากพอแล้ว เราต้องสามารถสร้างกฏเกณฑ์ ทฤษฎี หรือ model ให้ผู้อื่นเห็นสิ่งทั้งหมดนั้นได้ด้วย เช่น อธิบายผลจาก Tsunami ด้วย model อธิบายกฎKMขององค์กร ฯลฯ เป็นการศึกษา apply และ integration

  11. ขอบเขตของสิ่งที่เราศึกษา มีแค่ไหน • ถ้ามีตัวแปรจำกัด และสามารถวัดได้ เราสามารถศึกษาได้ด้วยวิธีเชิงปริมาณ ซึ่งมีความเป็น scientific สูง • ถ้าเราจำกัดตัวแปรให้อยู่ในกรอบ และเป็นตัวแปรที่ไม่สามารถวัดได้ เราต้องศึกษา เชิงคุณภาพแบบมีกรอบในการศึกษา • ถ้าเราไม่จำกัดตัวแปร ไม่ตีกรอบในการศึกษา และเปิดกว้างในการรับรู้ทุกข้อมูล นั้นคือเราศึกษาสิ่งที่พบนั้นด้วยตัวเรา ซึ่งมีความเป็น scientific ต่ำ

  12. ความสัมพันธ์ระหว่างคำถามและคำตอบที่ต้องการความสัมพันธ์ระหว่างคำถามและคำตอบที่ต้องการ คำถาม • ความเกี่ยวข้องของตัวแปรบางตัว • ความเกี่ยวข้องของตัวแปรมากมาย • เหตุการณ์ที่มีโครงสร้างในการศึกษา • เหตุการณ์ที่ไม่มีโครงสร้างในการศึกษา คำตอบ ๑. บอกด้วยค่าความสัมพันธ์ ๒. อธิบายด้วยโมเดล ๓. บอกเล่าประเด็น ๔. เล่าเรื่อง วิจัยเชิงปริมาณ ปริมาณหรือ คุณภาพก็ได้ คุณภาพแบบมีกรอบ Case study

  13. สิ่งที่นักวิจัยต้องระมัดระวัง คือ จะรู้หรือยืนยันได้อย่างไรว่าสิ่งที่ เรารู้มานี้เป็นความจริง

  14. ขั้นตอนการวิจัยโดยทั่วไปขั้นตอนการวิจัยโดยทั่วไป ขั้นกำหนดปัญหาที่ต้องการคำตอบ จากกรอบความรู้ข้อมูลที่มีอยู่ ขั้นออกแบบวิธีการศึกษา และสร้างสมมุติฐานที่เป็นไปได้ ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นสรุปผล และขยายผลการศึกษา

  15. ปัจจัยในการออกแบบการวิจัยปัจจัยในการออกแบบการวิจัย • การตั้งคำถามในการวิจัย • ขอบเขตของสิ่งที่จะศึกษา • ลักษณะของข้อมูลที่จะได้ • เครื่องมือที่จะเก็บรวบรวมข้อมูล • การวิเคราะห์ข้อมูล • การจะนำเสนอผลการศึกษา

  16. Variables ลักษณะของตัวแปร • เป็นขอบเขตของเนื้อหาที่จะศึกษา • แปร (Varies) ได้ หรือมีระดับ • มีนิยามโดยอาศัยทฤษฎี • วัดได้ (Measurable) • เป็นสิ่งที่สนใจจริง ๆ (ตัวแปรตาม) หรืออาจเป็นสิ่งที่เกี่ยวกับเรื่องที่เราสนใจ (ตัวแปรอิสระ)

  17. ชนิดของตัวแปร • Dependence variables • Independence variables • External variables • Related variables • Composite variables • Multi level variables

  18. สิ่งที่จะต้องออกแบบ • ออกแบบ Model การวิจัย • ออกแบบการวัดตัวแปร • ออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูล • ออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล • ออกแบบการนำเสนอผลการวิจัย

  19. ตัวอย่างคำถามในการวิจัยตัวอย่างคำถามในการวิจัย • มีการใช้ ICT ในการเรียนการสอนอย่างไร • โรงเรียนในเมืองมีคุณภาพดีกว่าโรงเรียนในชนบทจริงหรือไม่ • การกวดวิชา ส่งผลต่อการสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้หรือไม่ • การสอนแบบ interactive และแบบ Lecture แบบไหนจะดีกว่ากัน • จะทำอย่างไรเด็กพิการ (หูหนวก) จึงจะเรียนร่วมกับเด็กอื่นในห้องเดียวกันได้ What?? How?? Why??

  20. Design ในการวิจัย • การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) - ใช้แบบสอบถามความคิดเห็น โดยมีตัวแปรที่จะศึกษาตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป - เน้นการสุ่มกลุ่มตัวอย่างที่ดี และครอบคลุมสิ่งที่จะศึกษา - ใช้สถิติพรรณนา และนำเสนอข้อมูลให้เห็นภาพเหตุการณ์ - บางทีเป็นการสำรวจเหตุการณ์ ปรากฏการณ์แบบท่องสำรวจ (explore) เพื่อให้เกิดการค้นพบบางสิ่งใหม่ ๆ ขึ้นมา (Discover) - Case Study บางกรณีก็อาจจะเป็นการสำรวจ ค้นพบได้เหมือนกัน

  21. Survey Research การวิจัยเชิงสำรวจ - การศึกษาระดับของทัศนคติ ความคิดเห็น การประเมินสมรรถนะ หรือประเมินสถานการณ์ต่าง ๆ อาจจะมีเพียงตัวแปรตามตัวเดียวหรือหลายตัว - การศึกษาทัศนคติ ความคิดเห็นเป็นตัวแปรตาม โดยมีตัวแปรอิสระหลายตัวเพื่อจำแนกกลุ่ม แล้วเปรียบเทียบ - การจัดลำดับค่านิยม ความสำคัญของตัวแปรตามหลาย ๆ ตัว - การอธิบายสภาพปัญหา หรือวิเคราะห์สถานการณ์ด้วยตัวแปรตามหลาย ๆ ตัว

  22. ตัวอย่างงานวิจัยเชิงสำรวจตัวอย่างงานวิจัยเชิงสำรวจ • การศึกษาทัศนคติของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีต่อการปฏิรูปการศึกษา • ความคาดหวังของครูที่มีต่อการจัดสวัสดิการในพื้นที่กันดาร • ค่านิยมด้านวิชาเอกของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยเอกชน • การสำรวจการใช้ ICT ในการเรียนการสอนในพื้นที่ชนบท • ระดับของสมรรถนะของข้าราชการพลเรือนในการวางแผนพัฒนาการศึกษา • การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนโดยการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในระดับประถมศึกษา • ความคิดเห็นของชาวมุสลิมที่มีต่อการแก้ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของรัฐบาล

  23. Design ในการวิจัย 2. การวิจัยเชิงความสัมพันธ์ (Correlation Research) - มีตัวแปรมากกว่า 1 ตัวที่จะศึกษาความเกี่ยวข้องกัน - มักใช้แบบสอบถามวัดตัวแปร ซึ่งจำเป็นต้องเป็นเครื่องมือที่มีคุณภาพสูง - ใช้สถิติความสัมพันธ์ เช่น correlation, regression หรืออาจจะเป็นสถิติเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่สามารถอนุมานถึงความเกี่ยวข้องของตัวแปร - บางทีเป็นการระบุความเกี่ยวข้องกันของตัวแปรในเชิงคุณภาพก็สามารถทำได้

  24. Correlation Research การวิจัยเชิงความสัมพันธ์ - การศึกษาความสัมพันธ์ด้วยการเปรียบเทียบตัวแปรกลุ่ม - การศึกษาความสัมพันธ์ด้วย correlation - การพยากรณ์ (prediction) หรือทำนาย (Forecast) ด้วย regression - การใช้ตัวแปรอิสระหลาย ๆ ตัว ทำนายตัวแปรตามแบบ enter และ stepwise

  25. ตัวอย่างงานวิจัยเชิงความสัมพันธ์ตัวอย่างงานวิจัยเชิงความสัมพันธ์ • การศึกษาความสัมพันธ์ของการเรียนสายวิทยาศาสตร์ที่มีต่อสาขาในการสอบเข้ามหาวิทยาลัยของนักศึกษา • ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับประถมศึกษา • อิทธิพลที่มีต่อพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กปัญญาเลิศ • ความเกี่ยวข้องของทัศนคติต่อการเรียนคณิตศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาอื่น ๆ • แนวโน้มของจำนวนนักเรียนในพื้นที่รอบ ๆ สนามบินสุวรรณภูมิตามการพัฒนาทางเศรษฐกิจของพื้นที่

  26. Design ในการวิจัย 3. การวิจัยเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Study) - มีการแบ่งกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 1 กลุ่ม มาเปรียบเทียบกัน - ใช้แบบสอบวัดตัวแปร - เน้นการสุ่มกลุ่มตัวอย่างที่ดี - ใช้สถิติเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม เช่น X-test, T-test, F-test หรืออาจจะมีการวิเคราะห์หลาย ๆ ตัวแปรแบบ ANOVA, ANCOVA, MANOVA - งานวิจัยในเชิงคุณภาพบางทีเปรียบเทียบแบบข้ามวัฒนธรรม

  27. Comparative Study การวิจัยเชิงเปรียบเทียบ - การเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างกลุ่มแบบไม่มีทิศทาง เช่น ครูที่มีวุฒิแตกต่างกันจะมีสมรรถนะในการทำงานแตกต่างกัน - เปรียบเทียบข้อมูลระหว่างกลุ่มแบบมีทิศทาง เช่น ครูที่มีคุณวุฒิสูงย่อมมีสมรรถนะในการทำงานสูงกว่า - เปรียบเทียบผลของสองสิ่ง เช่น ผลการสอนคุณธรรมเด็กแบบใช้การ์ตูน เทียบกับผลการสอนแบบใช้การเล่านิทาน - เปรียบเทียบระหว่างการวัดก่อนและวัดหลัง - เปรียบเทียบระหว่างสังคม หรือระหว่างวัฒนธรรม - การเปรียบเทียบแบบใช้ตัวแปรหลายทาง (Two way or Three way ANOVA)

  28. ตัวอย่างการวิจัยเชิงเปรียบเทียบตัวอย่างการวิจัยเชิงเปรียบเทียบ • การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การการเรียนระหว่างนักเรียนในชนบทและในเมือง • การศึกษาความแตกต่างของการสอนวิชาศีลธรรมของนักศึกษาฝึกสอนที่มีสาขาวิชาเอกที่ต่างกัน • การเปรียบเทียบผลของการสอนแบบ Interactiveและการสอนแบบ Lecture • การศึกษาพฤติกรรมการออมของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ที่แตกต่างกัน • วิธีการประเมินคุณภาพสถานศึกษาในประเทศไทยและประเทศเกาหลีใต้

  29. Design ในการวิจัย 4. การวิจัยเชิงสาเหตุ (Causal Research) - คล้ายกันกับการศึกษาเชิงความสัมพันธ์ คือมีหลายตัวแปร ที่ต้องวัดอย่างมีคุณภาพ แต่ศึกษาความสัมพันธ์แบบเชิงสาเหตุ - ขนาดของกลุ่มตัวอย่างต้องครอบคลุมสิ่งที่จะศึกษา - ใช้สถิติที่ศึกษาหลาย ๆ ตัวแปรได้พร้อม ๆ กัน เช่น Path analysis, Multiple Regression, LISREL, Multi Level analysis, Factor analysis - บางทีต้องจำเป็นทดลองสถานการณ์

  30. Causal Research การวิจัยเชิงสาเหตุ - การวิเคราะห์เส้นทางของความสัมพันธ์ (Path analysis) เช่น การสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้เกิดจากอะไร ซึ่งมีทั้งตัวแปรจากครอบครัว การเรียน และลักษณะส่วนบุคคล - การวิเคราะห์องค์ประกอบแบบ Confirmatory Factor Analysis หรือ Exploratory Factor Analysis - การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุด้วยข้อมูลหลายระดับแบบ HML หรือการวิเคราะห์พหุระดับ - การศึกษาอำนาจการทำนายแบบ Multiple Regression

  31. ตัวอย่างการวิจัยเชิงสาเหตุตัวอย่างการวิจัยเชิงสาเหตุ • การศึกษาพหุปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา อุบลราชธานี เขต 1 • องค์ประกอบของสมรรถนะของผู้ช่วยผู้บริหารสถานศึกษา • การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสาเหตุของการออกกลางคันของนักเรียนในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

  32. Design ในการวิจัย 5. การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) - จะต้องมีการจัดกระทำ (Treatment) - เน้นการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน - ใช้การเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มก็ได้ หรือภายในกลุ่ม (Pre-test, Post-test)ก็ได้ หรือมีกลุ่มควบคุมด้วยก็ได้ (with control group) - ใช้สถิติได้หลายอย่างขึ้นอยู่กับการออกแบบการทดลอง และลักษณะของข้อมูลว่ามีอะไรเป็นตัวควบคุมปัจจัยแทรกซ้อน เช่น Dependence T-test,ANOVA, ANCOVA, MANOVA

  33. Experimental Research การวิจัยเชิงทดลอง - การทดลองในสนาม (Field experimental) เช่นการจัดสถานการณ์ระดมคนในค่ายเยาวชน - การทดลองในห้องปฏิบัติการ (Laboratory experimental) เช่น การทดลองสอนเด็กในห้องทดลองที่จัดขึ้น - ทดลองผลของ 1 treatments - ทดลองเปรียบเทียบ 2 treatments หรือมากกว่า - ทดลองดูว่าจะเกิดผลอะไรโดยไม่คาดคิดมาก่อน (Exploratory experimental)

  34. แบบฝึกหัด • กำหนดโจทย์การวิจัยการศึกษาในเชิงทดลอง??? • ออกแบบการทดลองนั้น??? • เขียนเป็นโมเดลการวิเคราะห์ผล???

More Related