1 / 7

พัฒนาการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 36 ปี พ.ศ. 2518 - 2554

พัฒนาการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 36 ปี พ.ศ. 2518 - 2554. เศรษฐกิจไทยเติบโตอย่างแข็งแรงในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว (per capita nominal GDP). หน่วย : บาท. อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยอยู่ที่ระดับร้อยละ 3.6*. CAGR = ~7%.

Download Presentation

พัฒนาการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 36 ปี พ.ศ. 2518 - 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พัฒนาการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 36 ปีพ.ศ. 2518 - 2554

  2. เศรษฐกิจไทยเติบโตอย่างแข็งแรงในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว (per capita nominal GDP) หน่วย: บาท อัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยอยู่ที่ระดับร้อยละ 3.6* CAGR = ~7% ที่มา: สถิติบัญชีประชาชาติของประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี * อัตราการเปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผู้บริโภคในประเทศชุดทั่วไป รวมทุกรายการ สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์

  3. หลายปีที่ผ่านมาตลาดตราสารทุนและตลาดตราสารหนี้มีขนาดและบทบาทเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนปัจจุบันมีขนาดรวมใหญ่เป็น 1.6 เท่าของยอดสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบ การเปรียบเทียบขนาดตลาดเงินและตลาดทุน ณ สิ้นปี หน่วย: พันล้านบาท เงินให้สินเชื่อรวมธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบ/1 มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด (นับรวม SET และ mai)/2 มูลค่าคงค้างตราสารหนี้/3 7,327 8,485 9,782 ที่มา: 1/ ธนาคารแห่งประเทศไทย 2/ SETSMART ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3/ ThaiBMA

  4. จำนวนบริษัทจดทะเบียนรวมตลาด SET และ mai ณ สิ้นปี หน่วย: บริษัท บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีจำนวน 545 บริษัท ณ สิ้นปี 2554 จำนวนบริษัทจดทะเบียนเข้าใหม่ จำนวนบริษัทจดทะเบียน 545 ที่มา : SETSMART

  5. วิกฤตเวิลด์คอม (มิ.ย. 2545) สงครามสหรัฐฯ กับอิรัก (ก.ค. 45-เม.ย. 46) วิกฤติสถาบันการเงิน ในเอเชีย (2540) การแพร่ระบาดของโรค SARS (มี.ค. 46) คลัง-ธปท. ประกาศ ค่าเงินบาทลอยตัว (ก.ค. 2540) การฟื้นตัวของเศรษฐกิจประเทศ (ม.ค.-ธ.ค. 46) การได้รับความช่วยเหลือ จาก IMF (ส.ค. 2540) ดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ณ สิ้นเดือน การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก (ม.ค.-ก.พ. 47) การปิดสถาบันการเงิน (ธ.ค. 2540) หน่วย: จุด ความไม่สงบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ก.พ.- เม.ย. 47) มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ (มี.ค. 2542) มาตรการกระตุ้นการใช้จ่าย ภาคเอกชน (ส.ค. 2542) การต่อต้านการ แปรรูป กฟผ. (ก.พ. - มี.ค. 47) มาตรการฟื้นฟูสถาบันการเงิน (14 ส.ค. 2542) แนวโน้มราคาน้ำมันและอัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น (พ.ค. – ก.ค. 47) การเลือกตั้งรัฐบาลใหม่ (ม.ค. 2544) การลดน้ำหนักการลงทุนของMSCI (พ.ค. 2544) การก่อวินาศกรรมในสหรัฐฯ (11 ก.ย. 2544) ความเคลื่อนไหวของดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีการพัฒนาไปตามสภาวการณ์ทั้งในและนอกประเทศ Morgan Stanley ปรับคำแนะนำการลงทุนในไทยเป็น overweight (มี.ค. 2553) ประกาศ พ.ร.ก. ฉุกเฉิน จากสถานการณ์ฉุกเฉินใน กทม. (เม.ย. 2553) ธนาคารฯ ในยุโรปส่วนใหญ่ผ่านการทดสอบ stress test (ก.ค. 2553) เกิดรัฐประหาร (ก.ย. 2549) มาตรการ กันสำรอง 30% (ธ.ค. 2549) ดัชนีต่ำสุดในปี 2519 ที่ระดับ 76.43จุดเมื่อวันที่ 17 มี.ค. 2519 ดัชนีสูงสุดในปี 2537 ที่ระดับ 1,753.73จุดเมื่อวันที่ 4 ม.ค. 2537 ประกาศยกเลิกมาตรการกันสำรอง 30% (ก.พ. 2551) วิกฤติค่าเงินเปโซของ เม็กซิโก(ม.ค. 2538) เหตุการณ์ความไม่สงบในอียิปต์ทวีความรุนแรงขึ้น (ก.พ. 2554) ญี่ปุ่นเกิดภัยสึนามิ (มี.ค. 2554) การจัดตั้งรัฐบาลได้เร็วของไทยทำให้นักลงทุนต่างประเทศเชื่อมั่นในเสถียรภาพของรัฐบาล (ก.ค. 2554) ไทยเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ (ต.ค. – ธ.ค. 2554) แบริ่ง ซิเคียวริตี้ส์ในสิงคโปร์ขาดทุนจาก การค้าตราสาร อนุพันธ์ (ก.พ. 2538) กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยปิดล้อมสนามบิน (พ.ย. 2551) เหตุการณ์จลาจลขั้นรุนแรงจากการประท้วงพฤษภาทมิฬ(พ.ค. 2535) ศาลปกครองระงับ 76 โครงการลงทุนในมาบตาพุด (ก.ย. 2552) การเก็งกำไรจากการ เพิ่มขึ้นของราคาอสังหาริมทรัพย์ (2532) รัฐบาลดูไบขอเลื่อนชำระหนี้ของบริษัทดูไบ เวิล์ด (พ.ย. 2552) คณะ รสช. ปฏิวัติ(ก.พ. 2534) เกิดรัฐประหาร (เม.ย. 2524) Mini Black Monday (ต.ค. 2532) สงคราม อ่าวเปอร์เซีย (ส.ค. 2533) เงินตึง และอัตรา ดอกเบี้ยสูงทั่วโลก (2524) Black Monday (ต.ค. 2530) ยุบสภา (พ.ค. 2529) วิกฤตการณ์น้ำมัน และปัญหาบริษัท ราชาเงินทุน(2522) เกิดรัฐประหาร (ก.ย. 2528) ที่มา: SETSMART ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

  6. ด้านการออม ตลาดทุนให้อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนสูงกว่า โดยผลตอบแทนที่ได้เป็นตัวเงินจากการถือหุ้นมากกว่าที่ได้จากเงินฝากประมาณ 5 เท่า ดัชนีผลตอบแทนรวม (Total nominal return) 2518-2554 หน่วย: จุด; ดัชนีผลตอบแทนรวมณ จุดเริ่มต้นลงทุน ปี 2517 อยู่ที่ 1000 ที่มา: Bloomberg, ThaiBMA หมายเหตุ: ข้อมูล ณ สิ้นปี 2554

  7. ถ้าหักผลกระทบจากเงินเฟ้อ ตลาดทุนยังคงให้อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนสูงกว่า โดยผลตอบแทนที่ได้เป็นตัวเงินจากการถือหุ้นมากกว่าที่ได้จากเงินฝากราว 4 เท่า ดัชนีผลตอบแทนรวมที่แท้จริง (Total real return) 2518-2554 หน่วย: จุด; ดัชนีผลตอบแทนรวมณ จุดเริ่มต้นลงทุน ปี 2517 อยู่ที่ 1000 อัตราผลตอบแทนสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 118 ในปี 2532 อัตราผลตอบแทนต่ำสุดอยู่ที่ร้อยละ -52 ในปี 2540 ที่มา: Bloomberg, ThaiBMA หมายเหตุ: ข้อมูล ณ สิ้นปี 2554

More Related