230 likes | 319 Views
การพัฒนาบุคลากรโดยใช้ e-Learning. เหตุผลความจำเป็น. นางพรรณพิมล ชัญญานุวัตร อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร. “ e-Learning เป็นวิธีการหนึ่งที่กรมฯ นำมาใช้ สำหรับการพัฒนา บุคลากร เพื่อให้บุคลากรของเรามีความรู้/ความสามารถในการถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ซึ่งเป็น ภารกิจหลักของกรมส่งเสริมการเกษตร
E N D
การพัฒนาบุคลากรโดยใช้ e-Learning เหตุผลความจำเป็น นางพรรณพิมล ชัญญานุวัตร อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร “e-Learningเป็นวิธีการหนึ่งที่กรมฯ นำมาใช้สำหรับการพัฒนา บุคลากร เพื่อให้บุคลากรของเรามีความรู้/ความสามารถในการถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ซึ่งเป็นภารกิจหลักของกรมส่งเสริมการเกษตร เพราะ e-Learning ช่วยให้การพัฒนาบุคลากรเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ครอบคลุม และประหยัดงบประมาณ เป็นประโยชน์กับกรมฯ และท้ายที่สุดของประโยชน์ หรือผลดี ก็จะเกิดกับเกษตรกรทั่วประเทศ ซึ่งเป็นคนในครอบครัวเดียวกับเรา”
หลักการ สื่อการเรียนรู้ทางไกลของกรมส่งเสริมการเกษตร ...... เป็น แนวทางและวิธีการในการจัดการเรียนการสอนให้สอดรับกับสถานการณ์ปัจจุบัน โดยนำเอา ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีด้านสื่อการเรียนรู้ เข้ามาประยุกต์ใช้สำหรับพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้สามารถปฏิบัติภารกิจในการถ่ายทอดความรู้สู่เกษตรกร ให้บรรลุผล
การจัดทำบทเรียนรูปแบบออนไลน์การจัดทำบทเรียนรูปแบบออนไลน์ ของกรมส่งเสริมการเกษตร 1 - รธส. สฝ. ประธาน - ผอ.สพท. รองประธาน - จนท./ผชช. กรรมการ - ผอ.กทฝ. (สพฝ.) เลขานุการฯ คณะกรรมการบริหารจัดการฯ พิจาณาคัดเลือกและแต่งตั้งทีมงาน ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้รู้ที่มี ความชำนาญการ ในแต่ละเนื้อหาหลักสูตร 2 คณะทำงานย่อยฯ 6 คณะ
บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ 1 • 1) กำหนดระบบการดำเนินงาน แนวทางและแผนการปฏิบัติงาน ให้คำปรึกษาแนะนำและสนับสนุนฯ • 2) พิจารณาปรับหลักสูตรการเรียน • การสอนและกำกับการผลิตบทเรียน • ออนไลน์ฯ • 3) แต่งตั้งคณะทำงานย่อยเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย • 4) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย คณะกรรมการบริหารจัดการ และกำกับการผลิตบทเรียนออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร
บทบาทหน้าที่ของคณะทำงานย่อยฯ 6 คณะ 2 คณะที่ 1 การจัดกระบวนการเรียนรู้ คณะที่ 2 การพัฒนาองค์กรเกษตรกรฯ คณะที่ 3 การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตร แบบมีส่วนร่วม คณะที่ 4 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร คณะที่ 5 การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านการเกษตร คณะที่ 6 การส่งเสริมเคหกิจเกษตร คณะทำงานย่อยการจัดทำบทเรียนรูปแบบออนไลน์ เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร บทบาทหน้าที่ 1) กำหนดระบบการดำเนินงาน แนวทางและแผนการปฏิบัติงาน ให้คำปรึกษาแนะนำและสนับสนุนฯ 2) พิจารณาปรับหลักสูตรการเรียนการสอนและกำกับการผลิตบทเรียนออนไลน์ฯ 3) แต่งตั้งคณะทำงานย่อยเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย 4) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
กระบวนการพัฒนาบุคลากรของกรมส่งเสริมการเกษตรกระบวนการพัฒนาบุคลากรของกรมส่งเสริมการเกษตร * ค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้น 1 การหาความจำเป็น ในการฝึกอบรม * สรุปประเมินผลการฝึกอบรมและจัดทำรายงาน * นำปัญหามาวิเคราะห์ เพื่อกำหนดเป็นหลักสูตร 5 2 การประเมินผลติดตามผลการฝึกอบบรม การสร้างหลักสูตรฝึกอบรม 4 3 การบริหารโครงการฝึกอบรม การกำหนดโครงการฝึกอบรม *** ดำเนินการฝึกอบรม * วางแผนการดำเนินการฝึกอบรม
รายงานสรุปผลโครงการผลิตสื่อบทเรียนออนไลน์ (e-Learning) เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ประจำปี 2555 เพื่อผลิตบทเรียนรูปแบบออนไลน์ รวม 6 หลักสูตร/วิชาหลัก คือ 1) การจัดกระบวนการเรียนรู้ 2) การพัฒนาองค์กรเกษตรกร วิสาหกิจชุมชนและเครือข่าย 3) การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม 4) การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 5) การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านการเกษตร 6) การส่งเสริมเคหกิจเกษตร เป้าหมาย 3 2 1 วิเคราะห์เนื้อหา การดำเนินงาน รวบรวมเนื้อหา แนวทาง/แผนงาน 7 4 6 5 สรุป/รายงานผล ประเมินประสิทธิภาพสื่อ จัดทำสื่อ ออกแบบเนื้อหา
รายงานสรุปผลโครงการผลิตสื่อบทเรียนออนไลน์ (e-Learning) เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ประจำปี 2555 1) บทเรียนรูปแบบออนไลน์ รวม 6 หลักสูตร/ วิชาหลักที่ผ่านการทดสอบประสิทธิภาพและ พร้อมสำหรับพัฒนาบุคลากรขององค์กร 2) หลักสูตรการเสริมสร้างสมรรถนะนักส่งเสริมการเกษตรของกรมส่งเสริมการเกษตร 3)มีผลงานวิชาการและหรือผลงานศึกษาวิจัย ผลที่เกิดขึ้น
ข้อสรุป 1. กระบวนการผลิตe- Learning กำหนดหลักสูตร/วิชา 2. มีบทเรียนพร้อมสำหรับการเรียนผ่านระบบออนไลน์ กำหนดแนวทาง/ แผนงาน/ ทีมงาน วิเคราะห์กำหนดประเด็นเนื้อหา จัดทำเนื้อหา/ ออกแบบสื่อ ผลิตบทเรียน e-Learning 3. หลักสูตรการเสริมสร้าง สมรรถนะนักส่งเสริมการเกษตร (ผ่านการทดสอบประสิทธิภาพ) ทดสอบประเมินประสิทธิภาพ สรุป/ รายงานผล
ข้อสรุป (ต่อ) 4. องค์ประกอบของหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตรประกอบด้วย 1) แนวการศึกษา หรือคำแนะนำในการเรียน 2) สื่อการเรียนรู้ (ได้แก่ วีดิทัศน์ เอกสาร และอื่น ๆ) 3) แบบประเมินผล หรือ Pre test และ Post test (คำถามท้ายบท/ แบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนและหลังเรียน) 4) อื่น ๆ องค์ประกอบของแต่ละวิชาประกอบด้วย 1) ปฐมนิเทศชุดวิชา 5) แบบฝึกหัดท้ายบท 2) แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน 6) เอกสารแนะนำเพิ่มเติม 3) กรณีตัวอย่าง หรือสื่อคัดสรร 4) บรรยายสรุปเนื้อหา (สื่อวีดิทัศน์) 7) อื่น ๆ 10
เตรียมความพร้อมโดยประสานงานกับ ศูนย์สารสนเทศ และ กองการเจ้าหน้าที่ เพื่อวางระบบโปรแกรม Moodle สำหรับการเรียนการสอนออนไลน์ • 2)พัฒนาเจ้าหน้าที่(เขต/กอง/สำนัก)เมื่อวันที่ 19-20 ก.ค.55 เพื่อเรียนรู้ การใช้โปรแกรม Moodle (เป็นโปรแกรม ฟรี)โดยวิทยากรจากมูลนิธิศักดิ์พรศัพท์ (อบรมฟรี) • (...พร้อมใช้ มกราคม 2556) การสนับสนุนงาน ข้อสรุป (ต่อ) จนท.สสข.6 จ.เชียงใหม่
บรรยากาศเวที “จัดทำหลักสูตร” ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2555
บรรยากาศเวที “จัดทำหลักสูตร” ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2555
บรรยากาศเวที “จัดทำหลักสูตร” ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2555
บรรยากาศเวที “นำเสนอผลการจัดทำหลักสูตร” ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2555
ถ่ายทำวิดิทัศน์...เปิดรายการถ่ายทำวิดิทัศน์...เปิดรายการ
ถ่ายทำวิดิทัศน์... นายสายัณห์ ปิกวงศ์ (นวส.ชำนาญการ)สนง.กษจ. กำแพงเพชร
ระบบงานพัฒนาบุคลากรผ่าน e-Learning งานที่ทำ จัดทำบทเรียนออนไลน์ จัดทำเนื้อหาหลักสูตร ออกแบบบทเรียน ออกแบบสื่อการเรียน บทเรียนมีมาตรฐานทางวิชาการ ผลิตบทเรียนออนไลน์ งานที่ทำต่อไป จัดการเรียนรู้ออนไลน์ นำขึ้นระบบอินเตอร์เน็ท กระบวนการเรียนการสอน ดูแล/ช่วยเหลือผู้เรียน ระบบออนไลน์มีคุณภาพ/ใช้ได้ดี รายงานผลออนไลน์
กระบวนงานจัดทำผลิตสื่อบทเรียนออนไลน์ (e-Learning) ขั้นตอน 1 2 3 4 5 ต.ค.-ธ.ค.55 ม.ค.-ก.พ.56 มี.ค.-พ.ค.56 มิ.ย.-ก.ค.56 กำหนดหลักสูตร กำหนดโครงสร้างหลักสูตร ออกแบบบทเรียน ผลิตสื่อ ลงระบบโปรแกรม -กรมฯ -คณะกรรมการฯ -คณะทำงานย่อยฯ -คณะทำงานย่อยฯ -คณะทำงานย่อยฯ -จ้างผลิต -ศสท. -คณะทำงาน ส.ค.-ก.ย.56 8 7 6 ปี 2557 ปี 2557 สรุปรายงานผล ติดตาม/ประเมิน ฝึกอบรมออนไลน์ -ศสท. -คณะทำงาน/ทีม (ส่วนกลาง/เขต) -ศสท. -คณะทำงาน/ทีม (ส่วนกลาง/เขต) -ศสท. -คณะทำงาน/ทีม (ส่วนกลาง/เขต) ผู้รับผิดชอบ
เป้าหมาย ปี2556 • จัดการเรียนการสอนโดยใช้ e-Learning หลักสูตรการเสริมสร้างสมรรถนะนักส่งเสริมการเกษตร 2) กลุ่มเป้าหมายในการเรียนรู้ จำนวน 4 ตำแหน่ง คือ - นักวิชาการเกษตร - นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร - เจ้าพนักงานการเกษตร - เจ้าพนักงานเคหกิจเกษตร
วิธีการ เรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 6 ชุดวิชา 1) การจัดกระบวนการเรียนรู้ 2) การพัฒนาองค์กรเกษตรกร วิสาหกิจชุมชนและ เครือข่าย 3) การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม 4) การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 5) การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านการเกษตร 6) การส่งเสริมเคหกิจเกษตร
งานที่ทำ • จัดฝึกอบรมออนไลน์ จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 6 เดือน (ปี 2556) • 2) พัฒนาระบบการเรียนการสอนออนไลน์ • 3) จัดทำผลงานศึกษาวิจัย “ประเมินผล”
ผลที่ต้องการ • แนวทางและระบบงาน (Model) • 2) บุคลากรได้รับการพัฒนาใน 4 ตำแหน่งหลัก • 3) เครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากร