1 / 30

Cooperative Learning in Higher Education

Cooperative Learning in Higher Education. การ เรียนแบบ ร่วมมือในระดับอุดมศึกษา. Cooperative Learning in Higher Education. Susan Ledlow อาจารย  ประจํา Center for Learning and Teaching Excellence, Arizona State University http://clte.asu.edu/active/clinhighed.pdf. Climate-Setting.

deon
Download Presentation

Cooperative Learning in Higher Education

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Cooperative Learning in Higher Education การเรียนแบบร่วมมือในระดับอุดมศึกษา

  2. Cooperative Learning in Higher Education • Susan Ledlow อาจารยประจํา Center for Learning and Teaching Excellence, Arizona State University • http://clte.asu.edu/active/clinhighed.pdf

  3. Climate-Setting Classroom Management Team Formation Lesson Design Teambuilding Cooperative skills development

  4. Climate-Setting • บอกนักศึกษาว่าเราวางแผนจะใช้วิธี Cooperative Learning • บอกเหตุผล • บอกประโยชน์ • มีผลกับคะแนนหรือเกรดหรือไม่ • ไม่ขู่ขวัญ • สาธิตการเรียน • สร้างบรรยากาศในห้องเรียน • ทำให้นักศึกษารู้จักกัน

  5. Team Formation • อาจารย์เป็นผู้จัดกลุ่มเอง • มีความหลากหลายโดยยึดเรื่องความสำเร็จ เชื้อชาติ เพศ หรือ ประสบการณ์ เช่น • กลุ่มมีขนาดเล็ก 2 – 5 คน • ไม่เปลี่ยนสมาชิกกลุ่มบ่อยๆ

  6. Team Formation • ธุรกิจ • นักศึกษาที่มีประสบการณ์จริงในธุรกิจ • นักศึกษาที่ไม่มีประสบการณ์ • จิตวิทยา • นักศึกษาที่มีบุตร • นักศึกษาที่มีประสบการณ์ทำงานกับเด็ก • กับนักศึกษาที่ไม่มีประสบการณ์

  7. Team Formation • งานเขียนเป็นสำคัญ • นักศึกษาที่ทักษะในการเขียนดี • นักศึกษาที่ทักษะในการเขียนน้อย • คอมพิวเตอร์ • นักศึกษาคนใดคนหนึ่งในกลุ่มต้องใช้คอมพิวเตอร์ หรือ Software เป็น

  8. Teambuilding • เป็นกระบวนการทำงานที่จำเป็นในการสร้าง การรักษา และทำให้มีการพัฒนากลุ่มให้เป็นกลุ่มที่มีความสามัคคี • การสร้างทีมเป็นงานสำคัญในการพัฒนากลุ่มที่ต้องทำงานด้วยกันในระยะเวลานาน

  9. Teambuilding • ขั้นตอนแรกของการสร้างทีม คือ การรู้จักคุ้นเคยกันและการเข้าสมาคมแบบสามัคคี • แบบฝึกหัดในการสร้างทีมต้องมีองค์ประกอบที่สนุกสนาน • การเล่นที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาความสามัคคี • การออกแบบโลโก้กลุ่ม • การแลกเปลี่ยนข้อมูลกันเกี่ยวกับงานชิ้นแรก • การมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อค้นพบลักษณะประจำตัวร่วมกันของสมาชิกในทีม

  10. Teambuilding • บทบาทและเกณฑ์ • ให้เพื่อนร่วมทีมช่วยกันพัฒนาเกณฑ์ขึ้นมา • กำหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละคน

  11. Teambuilding • การติดต่อสื่อสานกันระหว่างสมาชิกภายในกลุ่มที่มีประสิทธิภาพ • ทำให้การทำงานกลุ่มดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย • มีการสร้างเกณฑ์ขึ้นมาเพื่อควบคุมการติดต่อสื่อสาร • เกณฑ์จะสนับสนุนให้ทุกคนมีส่วนร่วม

  12. Teambuilding • ทีมต้องสามารถสะท้อนความคิดว่าพวกเขาร่วมมือกันทำงานได้ดีแค่ไหน • สมาชิกของกลุ่มต้องให้หรือรับการตอบกลับที่สร้างสรรค์ • สมาชิกของกลุ่มต้องให้เวลาในการช่วยเหลือ • สมาชิกของกลุ่มทราบเจตนาและการพึ่งพาซึ่งกันและกัน

  13. Cooperative skills development • เป็นแนวคิดในการทำให้การร่วมมือกันทำงานมีความ แตกต่างอย่างเด่นชัดจากการทำงานกลุ่มแบบเก่า • ช่วยนักศึกษาในการพัฒนาทักษะ • วิธีการทำงานที่อาจารย์ส่วนมากใช้ เช่น

  14. Cooperative skills development • วิธีการหนึ่งที่ David, Roger และ Karl smith ใช้ คือ T-Chart • ให้นักศึกษาระดมความคิดในการฝึกทักษะการเข้าสมาคม • เช่น ถามนักศึกษาว่า “การฟังที่ดีคืออะไร เป็นอย่างไร” • ให้นักศึกษาบันทึกคำตอบเก็บไว้ • ใช้เตือนความจำเวลาใช้ทักษะนี้ในการทำงานเป็นทีม

  15. Cooperative skills development • กำหนดบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม • กำหนดการทำงานของแต่ละคนในกลุ่ม • ต้องให้ทุกคนทำงานและทำการจดบันทึก • ให้ผู้ที่มีบทบาทเป็นหัวหน้ากลุ่มดำเนินการให้ การทำงานกลุ่มดำเนินไปด้วยความราบรื่น • อาจารย์คอยให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้นักศึกษาแต่ ละคนแสดงบทบาทของตนอย่างเต็มที่ • อาจารย์ตรวจสอบคุณภาพของาน

  16. Cooperative skills development • ถ้านักศึกษาส่วนใหญ่รับฟังความคิดเห็นของคนเพียง คนเดียวหรือสองคน • นักศึกษาแตละคนตองสรางคําตอบของตนเอง • นักศึกษาแตละคนบอกคําตอบของตนเองแก่สมาชิกกลุ่ม • นักศึกษาทุกคนได้รับฟังคำตอบทั้งหมด • นักศึกษาช่วยกันสรางสรรคคําตอบใหมขึ้นมาโดยรวบรวมจาก คำตอบทั้งหมด • วิธีการนี้สนับสนุนการฟงอยางตั้งใจ

  17. Cooperative skills development • การติดตามผลงานพื้นฐานของทีมและการส่งเสริมการใช้ ทักษะที่ดี • ชี้ให้เห็นว่ากลุ่มที่ประสบความสำเร็จเป็นกลุ่มที่ใช้ทักษะ ร่วมมือกันทำงานตามที่กำหนด • จะช่วยสนับสนุนทั้งห้องเรียนให้มีทักษะเช่นเดียวกับกลุ่มที่ ประสบความสำเร็จ • เราอาจสังเกตและจดบันทึกการทำงานของกลุ่มแล้วแจ้งให้ สมาชิกในกลุ่มนั้นทราบเพื่อสร้างความมั่นใจ

  18. Lesson Design การออกแบบบทเรียนและแบบฝึกหัด CLที่ดีจะทำให้ • เกิดการชี้แจงที่ชัดเจน • นักศึกษาทราบว่าจะร่วมมือกันทำงานได้ อย่างไร

  19. Lesson Design หลักการพิจารณาในการพัฒนาบทเรียน • ใช้วิธีการปรับโครงสร้างหรือกระบวนการทำงานที่ มีอยู่แล้ว • จิ๊กซอ (Jigsaw) • การถกเถียงทางวิชาการ (Academic Controversy) • การจับคู่แลกเปลี่ยนความคิดเห็น (Think-Pair-Share) • สร้าง-แลกเปลี่ยน-ฟัง-สร้างสรรค์ (Formulate-Share- Listen-Create)

  20. Lesson Design • ในการเลือกโครงสร้างให้พิจารณาว่า • ต้องการคำตอบเดียวหรือหลายคำตอบ • ผลงานอะไรที่คาดหวังว่าจะได้จากการทำงาน • ทีมจะใช้ทักษะและประสบการณ์ในการร่วมมือ กันทำงานอย่างไร

  21. Lesson Design • ถ้าไม่สามารถหาโครงสร้างที่มีอยู่แล้วมาใช้ • เราอาจสร้างขึ้นมาเอง • โดยยึดวัตถุประสงค์ทางวิชาการ • โดยยึดทักษะการร่วมมือทำงานตามที่กำหนด • ร่างขั้นตอนต่างๆ ที่ต้องการให้นักศึกษาทำเพื่อ บรรลุประสงค์ของงาน

  22. Lesson Design • ตรวจสอบว่าครอบคลุมหลักการพื้นฐานของการออกแบบบทเรียนที่ร่วมมือกันเรียนหรือไม่ • เขียนคำอธิบายให้นักศึกษาทราบว่าควรทำอย่างไร จึงจะทำงานได้สำเร็จ

  23. Lesson Design • หลัก 4 ประการ • การพึ่งพาอาศัยกันเชิงบวก • ภาระหน้าที่ของแต่ละบุคคล ในหลายจุดในการทำงาน • การมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมกัน • ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นพร้อมกันหลายจุดในบทเรียน

  24. Classroom Management ก่อนจะสอนในห้องเรียนที่ใช้วิธี Cooperative Learning • สไลด์PowerPoint • คำบรรยาย • ต้องคิดเตรียมการเพื่อสร้างความแน่ใจว่า กลุ่มขนาดเล็กจะทำงานได้อย่างอิสระในขณะที่ทำงานร่วมกัน

  25. Classroom Management • การบ้านและการทดสอบเพื่อตรวจสอบการเตรียมตัว • ถ้าออกแบบกิจกรรมไว้ดี เมื่อให้นักศึกษาอ่านบทเรียน จะทำให้ประหยัดเวลา

  26. Classroom Management การวางแผนเตรียมอุปกรณ์การเรียนและประเด็นสำหรับทีม • เขียนคำชี้แจงที่บอกให้ทราบว่าแบบฝึกหัดมีวัตถุประสงค์อย่างไร • ใช้เครื่องมือกราฟิก เช่น T-Chart หรือ Venn Diagram ช่วยในการจัดการผลงาน

  27. Classroom Management • ทักษะการเข้าสังคมเป็นสิ่งจำเป็นในการทำงานให้สำเร็จ • ควรสร้างความแน่ใจว่าทุกคนจะช่วยกันทำงาน • อาจารย์ควรช่วยนักศึกษาระดมความคิดในกรณีที่ต้องใช้ทักษะยากๆ เช่น • การสะท้อนความคิดเห็นในเชิงสร้างสรรค์

  28. Classroom Management ในระหว่างที่กลุ่มนักศึกษาทำงาน • เราควรติดตามผลการทำงาน • เราควรเข้าไปช่วยเหลือเมื่อกลุ่มของนักศึกษาหลงประเด็น • เราควรคอยเตือนนักศึกษาในกลุ่มไม่ให้คุยนอกเรื่อง

  29. Classroom Management หลังจากที่กลุ่มนักศึกษาทำงาน • เราควรสอบถามถึงการทำแบบฝึกหัด • เราควรสุ่มตัวอย่างนักศึกษาเพื่อตรวจสอบการทำงานของกลุ่ม เพื่อดูว่าใครทำได้ • ควรมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของกลุ่มในห้องเรียน

  30. Conclusion • สร้างความสมดุลในทุกประเด็น • ครอบคลุมเนื้อหาวิชา • ให้คิดพิจารณาในขณะออกแบบ • อย่ากังวลมากเกินไป • ทบทวนเมื่อออกแบบบทเรียนเสร็จ

More Related