1 / 261

เคมีคลินิก CLINICAL CHEMISTRY

งานปฏิบัติการกลางและชันสูตรโรค โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เคมีคลินิก CLINICAL CHEMISTRY. Topic. ที่มาและความหมายของเคมีคลินิก ความสำคัญของการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิก ประเภทของการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิก. What is clinical chemistry ???.

debbie
Download Presentation

เคมีคลินิก CLINICAL CHEMISTRY

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. งานปฏิบัติการกลางและชันสูตรโรคงานปฏิบัติการกลางและชันสูตรโรค โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เคมีคลินิกCLINICAL CHEMISTRY

  2. Topic • ที่มาและความหมายของเคมีคลินิก • ความสำคัญของการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิก • ประเภทของการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิก

  3. What is clinical chemistry ???

  4. คือ การตรวจหาสารต่างๆที่อยู่ในเลือด ปัสสาวะ และสารน้ำต่างๆที่มาจากร่างกายของคนเราโดยใช้วิธีทางเคมี Clinical chemistry เคมีคลินิก

  5. ความเป็นมาของเคมีคลินิกความเป็นมาของเคมีคลินิก • สมัยก่อน - การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการใช้วิธี manual เช่น การตรวจหาน้ำตาลในเลือด ใช้วิธีต้ม การตรวจหาสารบางชนิด เช่น เอนไซม์ ใช้วิธีวัดค่าการดูดกลืนแสง โดยใช้ เครื่องวัดการดูดกลืนแสง (spectrophotometer)

  6. ความเป็นมาของเคมีคลินิกความเป็นมาของเคมีคลินิก • สมัยก่อน

  7. ความเป็นมาของเคมีคลินิกความเป็นมาของเคมีคลินิก • ข้อดีของวิธี manual - ต้นทุนต่ำ - ปัจจุบันยังคงใช้ในบางโรงพยาบาล เช่น โรงพยาบาลชุมชน

  8. ความเป็นมาของเคมีคลินิกความเป็นมาของเคมีคลินิก • ข้อเสียของวิธี manual - ใช้เวลาในการตรวจวิเคราะห์นานทำให้แพทย์วินิจฉัยโรคได้ล่าช้า - มีความเสี่ยงสูงต่อบุคลากร - ระยะเวลาจำกัด จำนวนจำกัด

  9. ความเป็นมาของเคมีคลินิกความเป็นมาของเคมีคลินิก • ปัจจุบัน - การตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการมีการนำเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้ - อ้างอิงจากหลักการของวิธี manual - เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวิเคราะห์เป็นเครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ

  10. ความเป็นมาของเคมีคลินิกความเป็นมาของเคมีคลินิก

  11. ความเป็นมาของเคมีคลินิกความเป็นมาของเคมีคลินิก • ข้อดีของเครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ - ช่วยให้แพทย์วินิจฉัยโรคได้เร็วขึ้น - ทำได้หลายการทดสอบพร้อมๆกัน ครั้งละมากๆ - ลดความเสี่ยงของบุคลากร

  12. ความเป็นมาของเคมีคลินิกความเป็นมาของเคมีคลินิก • ข้อเสียของเครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ - ต้นทุนสูง - ต้องมีการบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่พร้อม ใช้งานเสมอ

  13. ความสำคัญของการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกความสำคัญของการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิก • เพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรค • เพื่อช่วยในการติดตามผลการรักษา • เพื่อตรวจกรองในกลุ่มประชากรที่ไม่มีอาการ • เพื่อการพยากรณ์โรค • เพื่อการวิจัยทางการแพทย์ • เพื่อตรวจสุขภาพร่างกาย

  14. สาระน่ารู้ทางเคมี • หน่วยที่ใช้รายงานผล • ค่าปกติ(Normal Range)และค่าวิกฤต (Critical Value)

  15. หน่วยที่ใช้รายงานผล • หน่วยมาตรฐานที่ใช้กันทั่วโลกคือ ระบบเมตริกที่มีชื่อว่า The International System of Units หรือ SI Unit

  16. หน่วยที่ใช้รายงานผล • หลักเกณฑ์โดยย่อสำหรับการรายงานค่าของสารเคมีในเลือดโดยใช้ระบบ SI มีดังนี้ 1. ปริมาตรให้รายงานเป็นลิตร (L) เช่น ปัสสาวะ 3 L หมายถึง ปัสสาวะจำนวน 3 ลิตร

  17. หน่วยที่ใช้รายงานผล 2. ความเข้มข้นของสารให้รายงานดังนี้ 2.1 น้ำหนักหรือมวลต่อลิตรเช่น g/l = กรัมต่อลิตร mg/l = มิลลิกรัมต่อลิตร g/l = ไมโครกรัมต่อลิตร mg/dl = มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร

  18. หน่วยที่ใช้รายงานผล 2.2 จำนวนสารต่อลิตรเช่น mol/l = โมลต่อลิตร mmol/l = มิลลิโมลต่อลิตร mol/l = ไมโครโมลต่อลิตร mEq/l = มิลลิอิควิวาเลนซ์ต่อลิตร

  19. หน่วยที่ใช้รายงานผล 3. หน่วยอื่นๆ เช่น U/L =ยูนิตต่อลิตร ตัวอย่าง - กลูโคส 89 mg/dl อ่านว่า??? - โซเดียม 145 mmol/l อ่านว่า??? - แมกนีเซียม 1.89 mEq/l อ่านว่า?? - เอนไซม์อะไมเลส150 U/L อ่านว่า??

  20. ค่าปกติ(Normal Range)และค่าวิกฤต(Critical Value) • ค่าปกติ (Normal Range)หรือค่าอ้างอิง (Reference Value) คืออะไร?? คือค่าของผลการทดสอบที่ได้จากลุ่มประชากรที่มีสุขภาพดีได้เป็นช่วงค่าปกติ • ค่าวิกฤต(Critical Value)คืออะไร?? คือค่าผลการทดสอบที่ผิดปกติของผู้ป่วย ที่ต้องรีบแจ้งแก่แพทย์โดยเร็วที่สุดเพื่อให้วางแผนการรักษาได้ทันท่วงที

  21. ความสำคัญของค่าปกติและค่าวิกฤตความสำคัญของค่าปกติและค่าวิกฤต • ค่าปกติ (Reference Value) - ใช้ตัดสินเบื้องต้นว่าปกติหรือผิดปกติ - ช่วยในการวินิจฉัยโรค - เพื่อการวิจัยทางการแพทย์ • ค่าวิกฤต (Critical Value) - เพื่อให้แพทย์วางแผนการรักษาได้ทันท่วงที

  22. ค่าวิกฤต(Critical Value) ทางเคมีคลินิก • ค่าวิกฤต (Critical value) เป็นผลการตรวจวิเคราะห์ที่มีค่าสูงหรือต่ำกว่าที่อ้างอิงในระดับที่มีผลกระทบต่อผู้ป่วยจนเป็นอันตรายได้ • กำหนดโดยแพทย์ร่วมกับห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง • ต้องรีบแจ้งแพทย์โดยด่วน

  23. การตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิก

  24. การตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิก • การตรวจน้ำตาลในเลือด (Fasting blood sugar,FBS) • การตรวจการทำงานของไต (Kidney function test) • การตรวจหาความผิดปกติของเกลือแร่และสมดุลกรด-ด่าง (Electrolyte and Elements) • การตรวจการทำงานของตับ (Liver function test,LFT)

  25. การตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิกการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีคลินิก • การตรวจหาความผิดปกติของไขมันในเลือด (Lipid profile) • การประเมินภาวะโรคหัวใจ (Cardiac marker) • การตรวจภาวะโรคเกาต์ (Gout) • การตรวจวิเคราะห์เหล็กที่สะสมในร่างกาย (Iron) • การตรวจวิเคราะห์อื่นๆ

  26. น้ำตาล (Sugar)

  27. น้ำตาลในเลือด (Blood sugar) • น้ำตาลในเลือด = น้ำตาลกลูโคส (glucose) • กลูโคสเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญที่สุดในการดำรงชีวิต • กลูโคสในเลือดได้มาจากอาหารและจากการเปลี่ยนจากคาร์โบไฮเดรตที่สะสมไว้ที่ตับ(ไกลโคเจน)

  28. น้ำตาลในเลือด (Blood sugar) • มีฮอร์โมนสำคัญที่ควบคุมระดับกลูโคสในเลือด คือ อินซูลิน • น้ำตาลในเลือดเปลี่ยนแปลงตามเวลาหลังรับประทานอาหาร

  29. การตรวจน้ำตาล(กลูโคส)ในเลือดการตรวจน้ำตาล(กลูโคส)ในเลือด • การย่อยสลายกลูโคส เลือด (กลูโคส) ตับ (ไกลโคเจน)

  30. การตรวจน้ำตาลในเลือด • ดูความผิดปกติของกลไกการจัดการกับกลูโคสในเลือดที่เกิดจาก • ตับอ่อนสร้างอินซูลินไม่พอ • ลำไส้ดูดซึมกลูโคสไม่ดี • ตับสะสมและสลายกลูโคสออกมาใช้งานได้ไม่ดี • ทุกๆกรณีที่น้ำตาลในเลือด กว่าปกติ = เบาหวาน

  31. การตรวจน้ำตาลในเลือด • ค่าปกติ Glucose = 70 – 110 mg/dl • ค่าวิกฤต Glucose < 40 mg/dl > 450 mg/dl

  32. การตรวจน้ำตาลในเลือด • ศัพท์ที่ควรรู้ - Blood Sugar =ระดับน้ำตาลในเลือด - Fasting Blood Sugar (FBS) = ระดับน้ำตาลในเลือดหลังจากงดอาหารอย่างน้อย 6-8ชั่วโมง

  33. การตรวจน้ำตาลในเลือด • เพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรคเบาหวาน • ติดตามผลการรักษาโรคเบาหวาน • ภาวะอ่อนเพลีย เป็นลม เนื่องจากขาดน้ำตาล

  34. การตรวจน้ำตาล(กลูโคส)ในปัสสาวะการตรวจน้ำตาล(กลูโคส)ในปัสสาวะ • เพื่อให้เรารู้คร่าว ๆ ว่าสามารถควบคุมโรคเบาหวานได้ดีเพียงใด  • ในคนปกติจะไม่พบน้ำตาลในปัสสาวะ • คำศัพท์ที่ควรรู้ - Urine glucose = การตรวจน้ำตาลในปัสสาวะ

  35. การตรวจน้ำตาล(กลูโคส)ในปัสสาวะการตรวจน้ำตาล(กลูโคส)ในปัสสาวะ • ทำไมปัสสาวะแล้วมดตอม ??? • เกิดความผิดปกติกับไตซึ่งปล่อยให้น้ำตาลออกมาพร้อมกับปัสสาวะ • มักพบในผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยโรคไต

  36. Kidney

  37. ไต(Kidney) • ไตมี 2 อันลักษณะคล้ายเมล็ดถั่ว • ขนาดประมาณกำปั้น • อยู่ข้างกระดูกสันหลังบริเวณบั้นเอว

  38. หน้าที่ของไต(kidney function) • กรองเลือดที่ผ่านไต โดยไม่ให้สารโมเลกุลใหญ่ผ่านออกมากับน้ำกรอง • ดูดกลับสารต่างๆที่ร่างกายต้องการและขับของเสียออกรวมกับน้ำในรูปของปัสสาวะ • ควบคุมสมดุลกรดด่างและเกลือแร่ในร่างกาย

  39. หน้าที่ของไต(kidney function) • กรองเลือด - ไม่ยอมให้สารในโมเลกุลใหญ่ผ่านออกไปเช่น เซลล์ต่างๆ โปรตีนโมเลกุลใหญ่ - ยอมให้สารโมเลกุลเล็กๆผ่านออกไปพร้อมกับน้ำเช่นพวกเกลือแร่ต่างๆยูเรีย(urea)

  40. การตรวจการทำงานของไต (Kidney function test) • กรองโปรตีน : พบโปรตีนในปัสสาวะ

  41. การตรวจการทำงานของไต (Kidney function test) • Urine protein • โปรตีนในปัสสาวะ • ปกติพบโปรตีนในปัสสาวะได้เล็กน้อย คือ น้อยกว่า 10 mg/dlหรือ น้อยกว่า 150 mg/24hrs. • ภาวะที่มีโปรตีนในปัสสาวะมากกว่า 150 mg/24hrs. เรียกว่า Proteinuria

  42. การตรวจการทำงานของไต (Kidney function test) Testที่ใช้ตรวจคือ • Urine protein - Random urine - 24 hrs. urine • Urine microalbumin - Microalbumin = mAlb

  43. การตรวจการทำงานของไต (Kidney function test) • Urine protein • โปรตีนในปัสสาวะ • การตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะอาจเกิดจาก • 1.สาเหตุที่ไม่เกี่ยวข้องกับไต ได้แก่ การออกกำลังกายมาก ผู้ที่เป็นไข้ ผู้ป่วยที่มีเนื้องอกในช่องท้อง เป็นต้น • 2.สาเหตุจากพยาธิสภาพภายในไตโดยตรง

  44. การตรวจการทำงานของไต (Kidney function test) • Urine protein - Random urine - 24 hrs. urine

  45. การตรวจการทำงานของไต (Kidney function test) • Urine microalbumin หมายถึง ระดับอัลบูมินที่มากกว่า ปกติเล็กน้อยออกมาในปัสสาวะ แต่ยังตรวจไม่พบโดยวิธีLabstix หรือ Dipstick

  46. การตรวจการทำงานของไต(Kidney function test) • ความสำคัญของการตรวจ Urine microalbumin - ประเมินสภาพทางไตและติดตามการรักษาผู้ป่วย โรคเบาหวาน- ประเมินสภาพทางไตและติดตามการรักษาผู้ป่วยโรค ความดันโลหิตสูง

  47. การตรวจการทำงานของไต(Kidney function test) • Urine microalbumin • 0-4 mg/dl (Random urine) • 0-30 mg/24hrs. (Urine 24hrs.)

  48. การตรวจการทำงานของไต (Kidney function test) • การดูดกลับและการขับของเสีย • ของเสียที่ไตขับออกมาที่สำคัญ คือ ยูเรีย(urea) ครีเอตินีน(creatinine) และกรดยูริค (uric acid)

More Related