240 likes | 383 Views
8311301 : information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ). Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND. บทที่ 1 ภาพรวมความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ . Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
E N D
8311301 : information security (ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ) Department of Informatics, PhuketRajabhat University. THAILAND
บทที่ 1ภาพรวมความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ Department of Informatics, PhuketRajabhat University. THAILAND
ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ (Information Security) คืออะไร • ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ คือ กระบวนการในการยับยั้งและการป้องกันภัยคุกคามต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นหรืออาจจะเกิดขึ้นกับสารสนเทศระบบสารสนเทศ และบริการของระบบสารสนเทศ
ภัยคุกคาม (Threats) คืออะไร • ภัยคุกคาม หมายถึง การกระทำและ/หรือเหตุการณ์ใด ๆ ที่ทำให้ระบบสารสนเทศไม่มีความมั่นคงปลอดภัย • ที่มาของภัยคุกคาม • คน เช่น ตั้งรหัสผ่านง่ายเกินไป • อุปกรณ์ เช่น ฮาร์ดแวร์พัง ซอฟต์แวร์ทำงานผิดพลาด ฯลฯ • ภัยธรรมชาติ เช่น ไฟไหม้ น้ำท่วม แผ่นดินไหว ฯลฯ • ภัยคุกคามอาจเป็นอุบัติเหตุหรือเป็นการจงใจทำให้เกิดขึ้นก็ได้
แนวโน้ม (Trend) ของภัยคุกคามที่มีต่อระบบสารสนเทศ Source : http://www.cert.org/stats/
สาเหตุที่ทำให้ภัยคุกคามที่มีต่อข้อมูลสารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัวสาเหตุที่ทำให้ภัยคุกคามที่มีต่อข้อมูลสารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัว • มีการประยุกต์ใช้ ICT ในด้านต่าง ๆ มากขึ้น (ทุกอย่างใช้คอมพิวเตอร์ควบคุม) • มีจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง (มีทั้งคนดีและคนไม่ดี) • เครื่องมือในการสร้างภัยคุกคามหาได้ง่ายจากอินเตอร์เน็ต (อยากรู้อะไรถาม Google) • เครื่องมือในการสร้างภัยคุกคามใช้งานได้ง่าย (ขอแค่คลิกเมาส์เป็นก็ใช้ได้) • ผู้ใช้ขาดความใส่ใจในเรื่องของความมั่นคงปลอดภัย
มูลค่าความเสียหาย Source : http://gocsi.com/sites/default/files/uploads/CSIsurvey2008.pdf
ประเภทของภัยคุกคาม Passive threats Active threats • เป็นการแอบดูข้อมูลระหว่างการส่ง • ไม่มีการแก้ไข/เปลี่ยนแปลงข้อมูล • ยากต่อการตรวจจับ • แต่สามารถป้องกันได้ • ตัวอย่าง เช่น • Sniffer • Wiretap • Social engineering • มีการแก้ไข/เปลี่ยนแปลงข้อมูล • ง่ายต่อการตรวจจับ • แต่ป้องกันได้ยาก • ตัวอย่างเช่น • Virus • Worm • Trojan Horse • ฯลฯ
ความสำคัญของ Information Security • เป็นการป้องกันและ/หรือลดมูลค่าความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น • ช่วยให้ธุรกิจสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง • เพิ่มโอกาสทางธุรกิจ • ช่วยให้องค์กรมีภาพลักษณ์ที่ดี • ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder: ลูกค้า คู่ค้า ผู้ถือหุ้น) เกิดความเชื่อมั่น
ภาพรวมความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศภาพรวมความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ
ส่วนผสมทางด้านความมั่นคงปลอดภัยส่วนผสมทางด้านความมั่นคงปลอดภัย
ธรรมชาติของความมั่นคงปลอดภัยธรรมชาติของความมั่นคงปลอดภัย • ความมั่นคงปลอดภัยเป็นเรื่องของความเสี่ยงดังนั้นจึงไม่มีคำว่า “ร้อยเปอร์เซ็นต์” • ความมั่นคงปลอดภัยมักจะสวนทางกับความสะดวกสบายเสมอ • ความมั่นคงปลอดภัยเป็นเรื่องของกระบวนการไม่ใช่เรื่องของเทคโนโลยีชั้นสูง
แนวความคิดหลักที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศแนวความคิดหลักที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ • Confidentiality (การรักษาความลับ) • การรับรองว่าจะมีการเก็บรักษาสารสนเทศไว้เป็นความลับและจะมีเพียงผู้ที่มีสิทธิเท่านั้นที่สามารถจะเข้าถึงสารสนเทศเหล่านั้นได้
แนวความคิดหลักที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศแนวความคิดหลักที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ • Integrity (ความสมบูรณ์) • การรับรองว่าสารสนเทศจะไม่ถูกกระทำการใด ๆ อันมีผลทำให้สารสนเทศเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขจากผู้ไม่มีสิทธิหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่าสารสนเทศจะมีความสมบูรณ์ถูกต้องตลอดเวลา
แนวความคิดหลักที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศแนวความคิดหลักที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ • Availability (ความพร้อมใช้) • การรับรองว่าระบบสารสนเทศมีความพร้อมที่จะให้บริการได้ในเวลาที่ต้องการใช้งาน
แนวความคิดหลักที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ • Authentication (การพิสูจน์ตัวตน) • การตรวจสอบสิทธิ์ในการเข้าใช้งานระบบสารสนเทศของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
แนวความคิดหลักที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ • Authorization (การพิสูจน์สิทธิ์) • ตรวจสอบสิทธิ์ในการดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อระบบสารสนเทศของบุคคลที่ได้รับอนุญาติให้เข้าใช้งานระบบสารสนเทศ
แนวความคิดหลักที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ • Non-repudiation (การไม่ปฎิเสธการกระทำ) • การป้องกันการปฎิเสธการรับผิดชอบในการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดต่อระบบสารสนเทศของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
ช่องโหว่ (Vulnerabilities) • ช่องโหว่ คือ จุดอ่อนของระบบสารสนเทศ ที่อาจจะทำให้ระบบสารสนเทศไม่มีความปลอดภัยจากภัยคุกคามต่าง ๆ • หากละเลยในการค้นหาช่องโหว่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดความเสียได้ง่าย ดังตัวอย่าง • ช่องโหว่เกี่ยวกับฮาร์ดแวร์ • ไม่ล็อคประตู • ช่องโหว่เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ • ไม่อัพเดทฐานข้อมูลไวรัส • ช่องโหว่เกี่ยวกับนโยบาย • ไม่มีการทบทวนนโยบายความปลอดภัยฯ
การโจมตี (Attack) • การโจมตี หมายถึง การกระทำใด ๆ ก็ตามที่เป็นการพยายามบุกรุกผ่านระบบรักษาความปลอดภัยฯ • รูปแบบของการโจมตีระบบเครือข่ายสารสนเทศ • Interruption • Interception • Modification • Fabrication
รูปแบบการโจมตีระบบสารสนเทศรูปแบบการโจมตีระบบสารสนเทศ