


Loading in 2 Seconds...
Loading in 2 Seconds...
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ส่วนราชการระดับจังหวัด. PMQA. เอกสารประกอบการจัดคลินิกให้คำปรึกษาการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับจังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือ วันที่ 16 มีนาคม 2554
Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author.While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server.
PMQA
เอกสารประกอบการจัดคลินิกให้คำปรึกษาการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
สำหรับส่วนราชการระดับจังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือ
วันที่ 16 มีนาคม 2554
ณ ห้องดอยสุเทพ ชั้น 1 โรงแรมแคนทารีฮิลล์ จังหวัดเชียงใหม่
P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย
2. การวางแผน
เชิงยุทธศาสตร์
5. การมุ่งเน้น
ทรัพยากรบุคคล
1. การนำองค์การ
7. ผลลัพธ์
การดำเนินการ
6. การจัดการ
กระบวนการ
3. การให้ความสำคัญ
กับผู้รับบริการและ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด
พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับก้าวหน้า
(Progressive Level)
ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ
100
90
80
70
60
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน
(Fundamental Level)
50
40
30
20
10
หมวด 2
หมวด 3
หมวด 1
หมวด 4
หมวด 5
หมวด 6
หมวด 7
ร้อยละของการ
ผ่านเกณฑ์
2552
2554
2553
5
1
2
กรมด้านบริการ
6
3
4
4
1
3
กรมด้านนโยบาย
6
2
5
2
1
5
จังหวัด
3
4
6
1
3
2
Progressive
Level
สถาบันอุดมศึกษา
6
4
5
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54
ตัวชี้วัดที่ 11.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน
เกณฑ์การให้คะแนน :
วัดความสำเร็จของกระบวนการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการ โดยเกณฑ์การให้คะแนนแบ่งออกเป็นดังนี้
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54
ตัวชี้วัดที่ 11.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการ (ผลลัพธ์ของกระบวนการ) ของส่วนราชการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7)
ตารางและสูตรการคำนวณ :
หมายเหตุ: เกณฑ์การให้คะแนนจะแตกต่างกันในแต่ละตัวชี้วัด โดยมีรายละเอียดตามภาคผนวก ข
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54
ตัวชี้วัดที่ 11.3 ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54
ตัวชี้วัดที่ 11.3 ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน
เกณฑ์การให้คะแนน :
กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้
การสนับสนุนจากสำนักงาน ก.พ.ร.
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)
องค์ประกอบเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน(Fundamental Level)
เกณฑ์ หมวด 2
คำอธิบาย
การจัดทำรายละเอียดของแผนงาน/โครงการ เพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานนั้น จังหวัดอาจใช้โปรแกรม Microsoft Project ในการจัดทำรายละเอียดดังกล่าว ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นถึงรายละเอียดของแผนการดำเนินงาน แผนการใช้งบประมาณ และแผนการบริหารกำลังคน ได้อย่างครบถ้วน ทำให้การติดตามผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการต่าง ๆ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
วิธีการประเมิน
ผ่าน / ไม่ผ่าน – จะผ่านต่อเมื่อทำครบทุก bullet
ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์
วิสัยทัศน์
เป็นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย สินค้าเกษตรอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงสุขภาพ
ค่านิยม
“เดินตามรอยพระยุคลบาท
ปฏิบัติราชการด้วยความเป็นธรรม”
ลักษณะสำคัญองค์กร: จังหวัดนครปฐมจำนวนบุคลากร
ตัวอย่าง
ความต้องการและความคาดหวัง
กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
Hammer & Champy’s(1993)
Wikipedia
Rummler & Brache(1995)
Wikipedia
ความสำคัญของกระบวนการความสำคัญของกระบวนการ
การจัดการกระบวนการคือการจัดการกระบวนการคือ
การระดมทรัพยากรในการดำเนินการอันได้แก่ บุคลากร วัสดุ แรงงาน และ เครื่องจักร เพื่อการทำงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์หลักขององค์การ
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (Process Management)
20
กำหนดกระบวนการ
การออกแบบกระบวนการ
PM 1
ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด 3)
ข้อกำหนดที่สำคัญ
PM 2
กฎหมาย กฎ ระเบียบ (OP)
องค์ความรู้/IT
ความต้องการผู้รับบริการ
ออกแบบกระบวนการ
ระยะเวลา/ค่าใช้จ่าย/ผลิตภาพ
PM 3
PM 3
กำหนดตัวชี้วัดควบคุมกระบวนการ
เป้าหมายภารกิจ
PM 4
การจัดการกระบวนการ
การจัดการกระบวนการสู่การปฏิบัติ
ระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน
PM 5
PM 5
คู่มือการปฏิบัติงาน
ลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบ
ป้องกันความผิดพลาด
ปรับปรุงกระบวนการ
สอดคล้องตาม OP
PM 6
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
PM 6
นวัตกรรม
พันธกิจ
ความต้องการผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
กระบวนการสร้างคุณค่า
การออกแบบกระบวนการ
ขั้นตอนการกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่าขั้นตอนการกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า
1. ระบุประเด็นสำหรับการพิจารณากระบวนการที่สำคัญ
2. การระบุกระบวนการที่ตอบสนองต่อประเด็นพิจารณา
5. การระบุกระบวนการที่สร้างคุณค่าของจังหวัด
4. การจัดลำดับความสำคัญ
3. การจัดกลุ่มกระบวนการที่สำคัญที่ได้ระบุไว้
M1 รายได้
M2 การศึกษา
M3 สุขอนามัยและสุขภาพ
M4 ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
M5 ระบบเตือนภัยและป้องกันภัยพิบัติและแก้ไขปัญหาภาวะฉุกเฉิน
S1 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้านการเกษตร
S2 การสร้างโอกาสและกระจายรายได้
S3 การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชนเข้มแข็ง
S4 การดูแลทรัพยากรธรรมชาติและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
S5 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
เช่น โครงสร้างส่วนราชการ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เป็นต้น
ตาม OP ข้อ 8
เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์
“ข้อกำหนดที่สำคัญ”(Key Requirement) หมายถึง ผลลัพธ์ที่คาดหวังเมื่อสิ้นสุดกระบวนการนั้น
ข้อกำหนดที่สำคัญ
ข้อกำหนดที่สำคัญ (Key Requirement) หมายถึง
ปัจจัยสำคัญที่นำมาใช้ในการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการปัจจัยสำคัญที่นำมาใช้ในการจัดทำข้อกำหนดที่สำคัญของกระบวนการ
ตัวชี้วัดของกระบวนการ หมายถึง
ตัวชี้วัดกระบวนการที่ดีจะต้องเป็นตัวควบคุมกระบวนการทำงานให้ผู้ปฏิบัติงานใช้เป็นกรอบในการปฏิบัติงานให้ได้ตามมาตรฐานงานที่กำหนดไว้(ข้อกำหนดที่สำคัญ) เพื่อให้เกิดการปรับปรุงระหว่างกระบวนการ
PM2ข้อกำหนดที่สำคัญและตัวชี้วัดกระบวนการที่สร้างคุณค่า
ปัจจัยเกี่ยวข้องที่สำคัญปัจจัยเกี่ยวข้องที่สำคัญ
การออกแบบกระบวนการ หมายถึง
การออกแบบขั้นตอน อุปกรณ์ เครื่องมือ และแนวทางในการดำเนินการและวิธีการในการควบคุมกระบวนการเพื่อให้ตอบสนองต่อข้อกำหนดของการออกแบบและวัตถุประสงค์ของกระบวนการ
ปัจจัยที่ใช้ในการออกแบบกระบวนการ ประกอบด้วย
ตัวอย่าง
กระบวนการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP
ประเมินศักยภาพของชุมชน เช่น ความพร้อมด้านภูมิปัญญา ทรัพยากร
ร้อยละของผลิตภัณฑ์ที่ส่งเสริมที่มีการวิจัยตลาด
ศึกษาความต้องการของตลาด (วิจัยตลาด)
เทคโนโลยีที่ใช้ถ่ายทอด
กำหนดผลิตภัณฑ์ที่จะส่งเสริม
ประสิทธิภาพขององค์ความรู้
วิเคราะห์องค์ความรู้ที่จำเป็นและกำหนดรูปแบบการส่งเสริม
ร้อยละของสินค้า OTOP ที่สามารถจำหน่ายได้ในแต่ละเดือน
ดำเนินการส่งเสริมด้านการผลิตและตลาด
สรุปผลการดำเนินการส่งเสริม
ติดตามประเมินผลการส่งเสริม
ตัวอย่าง
กระบวนการส่งเสริมการท่องเที่ยว
พัฒนาและปรับปรุง
แหล่งท่องเที่ยว
พัฒนากิจกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
พัฒนาคุณภาพ และ
ระบบการจัดจำหน่าย
สินค้าที่ระลึกและสินค้า
ท้องถิ่น
พัฒนาความพร้อม และ
มาตรฐานสถานบริการ
และบริการอื่นๆ
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียน Flow Chart
จุดเริ่มต้น และสิ้นสุดของกระบวนการ
กิจกรรมและการปฏิบัติงาน
การตัดสินใจ
ทิศทาง/การเคลื่อนไหวของงาน
จุดเชื่อมต่อระหว่างขั้นตอน
(เช่น กรณีการเขียนกระบวนการไม่สามารถจบได้ภายใน 1 หน้า)
การสื่อสารกับผู้เกี่ยวข้อง
การทบทวน/ปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉิน
ความเชื่อมโยงแผนสำรองฉุกเฉินกับพันธกิจ
ภัยพิบัติ
ภาวะฉุกเฉิน
ที่มา : เอกสารประกอบการสัมมนาเวทีปัญญาสัมมนาวาที รื่อง Business Continuity Management วันที่ 26 มกราคม 2554 โดย คุณวิไลพร ทวีลาภพันทอง และ คุณกุลเวช เจนวัฒนวิทย์บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส จำกัด
ที่มา : เอกสารประกอบการสัมมนาเวทีปัญญาสัมมนาวาที รื่อง Business Continuity Management วันที่ 26 มกราคม 2554 โดย คุณวิไลพร ทวีลาภพันทอง และ คุณกุลเวช เจนวัฒนวิทย์บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส จำกัด
ที่มา : เอกสารประกอบการสัมมนาเวทีปัญญาสัมมนาวาที รื่อง Business Continuity Management วันที่ 26 มกราคม 2554 โดย คุณวิไลพร ทวีลาภพันทอง และ คุณกุลเวช เจนวัฒนวิทย์บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส จำกัด
ที่มา : เอกสารประกอบการสัมมนาเวทีปัญญาสัมมนาวาที รื่อง Business Continuity Management วันที่ 26 มกราคม 2554 โดย คุณวิไลพร ทวีลาภพันทอง และ คุณกุลเวช เจนวัฒนวิทย์บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส จำกัด
การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน
องค์ประกอบคู่มือการปฏิบัติงานองค์ประกอบคู่มือการปฏิบัติงาน
1. วัตถุประสงค์ของการจัดทำคู่มือ (Objectives)
เป็นการชี้แจงให้ผู้อ่านทราบถึงวัตถุประสงค์ในการจัดทำเอกสาร
2. ขอบเขต (Scope)
อธิบายให้ทราบถึงขอบเขตของกระบวนการว่าครอบคลุมขั้นตอน หน่วยงาน สถานที่ และเวลา
3. คำจำกัดความ (Definition)
อธิบายถึงศัพท์เฉพาะ หรือคำย่อที่กล่าวถึงภายในกระบวนการ เพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน
4. หน้าที่ความรับผิดชอบ (Responsibilities)
ชี้แจงให้ทราบถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ
5. Work Flow กระบวนการ
ระบุขั้นตอนในรูปแบบของ Flow Chart ที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
องค์ประกอบคู่มือการปฏิบัติงานองค์ประกอบคู่มือการปฏิบัติงาน
6. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Procedure)
อธิบายถึงขั้นตอนการทำงานอย่างระเอียด ระบุว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร เมื่อใด
7. มาตรฐานงาน
ระบุมาตรฐานการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอน
8. ระบบติดตามประเมินผล
ระบุวิธีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติ
9. เอกสารอ้างอิง
อธิบายให้ทราบถึงเอกสารอื่นที่ต้องใช้ประกอบคู่กันหรืออ้างถึงกัน
10. แบบฟอร์มที่ใช้
อธิบายแบบฟอร์มที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลของผู้ที่เกี่ยวข้อง
ชื่อกระบวนการ......กระบวนการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP.................ตัวชี้วัดที่สำคัญของกระบวนการ 1. ร้อยละของผลิตภัณฑ์ที่ส่งเสริมที่มีการวิจัยตลาด....2. ร้อยละของสินค้า OTOP ที่สามารถจำหน่ายได้ในแต่ละเดือน
ประเมินศักยภาพของชุมชน
ศึกษาความต้องการของตลาด
กำหนดผลิตภัณฑ์ที่จะส่งเสริม
วิเคราะห์องค์ความรู้
ที่จำเป็นและกำหนดรูปแบบการส่งเสริม
ดำเนินการส่งเสริมด้านการผลิตและตลาด
ติดตามประเมินผลการส่งเสริม
NO
YES
สรุปผลการดำเนินการส่งเสริม
เทคนิคการจัดทำคู่มือให้เข้าใจง่ายและน่าสนใจเทคนิคการจัดทำคู่มือให้เข้าใจง่ายและน่าสนใจ
1. การใช้ภาพถ่ายอ้างอิง
2. การใช้ภาพการ์ตูน
3. การใช้ Multimedia
การปรับปรุงกระบวนการ การปรับปรุงกระบวนการ
PM6 การปรับปรุงกระบวนการ
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (Human Resource)
สภาพแวดล้อมการทำงาน
ความพึงพอใจ
HR 1
หาปัจจัย
สถานที่ อุปกรณ์การทำงาน - ตัวชี้วัด/เป้าหมาย- การมีส่วนร่วม
เตรียมพร้อมภาวะฉุกเฉิน
กำหนดตัวชี้วัด/วิธีการประเมิน
ความผาสุก
สร้างแรงจูงใจ/จัดระบบสวัสดิการ
ระบบยกย่อง/จูงใจ
ระบบประเมินผล
HR 2
ประเมินผล
กำหนดคุณลักษณะและทักษะที่จำเป็น
HR 3
จัดลำดับความสำคัญ
สอดคล้อง
กับผลลัพธ์องค์กร
สร้างความก้าวหน้าในการทำงานให้ชัดเจน
HR 5
ปรับปรุง
พัฒนาบุคลากร ทางการ/ไม่ทางการ
บุคลากร
ทำงานตามแผนปฏิบัติงาน (หมวด 2)
หน.งาน/ผู้บังคับบัญชา
HR 3
องค์กร
สมดุลทั้งความต้องการองค์กรและความต้องการบุคลากร (หมวด 5.1)
ความรู้ในองค์กร (หมวด 4.2)
การพัฒนาบุคลากรและภาวะผู้นำ
ส่งเสริมนำไปปฏิบัติ
HR 4
ประเมินผลประสิทธิผลการฝึกอบรม
- ผลการปฏิบัติงานของบุคคล- ผลการดำเนินงานขององค์กร
จังหวัดต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์กร
ตัวอย่าง : กรมชลประทาน
แผนผังแสดงการจัดทำแผนกลยุทธ์เพื่อสร้างความผาสุกฯ
สำรวจปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก
เก็บรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
จัดลำดับความสำคัญและกำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจและแรงจูงใจของบุคลากร
ประชาสัมพันธ์
เผยแพร่สำนัก/กอง
ติดตามประเมินผลเพื่อทบทวนและปรับปรุงการดำเนินงาน
ดำเนินการ
ตามแผน
จัดทำแผน กลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปี
ตัวอย่าง : กรมชลประทาน
ผลการวิเคราะห์หาปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจ และแรงจูงใจของบุคลากร
HR1
จังหวัดต้องกำหนดปัจจัยทีมีผลต่อความผาสุก และความพึงพอใจ ของบุคลากร รวมทั้งต้องมีการวิเคราะห์และปรับปรุงปัจจัย ดังกล่าวให้มีความเหมาะสม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและให้เกิดความผูกพันต่อองค์การ
จังหวัดมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น
ตัวอย่าง : กรมชลประทาน
ระบบการบริหารผล
การปฏิบัติราชการ
หัวหน้า
ส่วนราชการ
ถ่ายทอดและกำหนดเป้าหมายที่สอดคล้องกับเป้าหมายผลการปฏิบัติงานในระดัองค์กร
(เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์)
รองหัวหน้า
ส่วนราชการ
กำหนดเป้าหมายงานอื่นๆ ที่มาจากงานตามภารกิจและงานมอบหมายพิเศษ
(เป้าหมายอื่นๆ)
ผู้อำนวยการ
ระดับสำนัก/กอง
หัวหน้าหน่วยงานภายใต้ สำนัก/กอง
ผู้ปฏิบัติงานที่ไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา
สมรรถนะหลักของ กรมชลประทาน
การดำเนินงานเชิงรุก
ความเข้าใจภารกิจกรมชลประทาน
สมรรถนะ
HR2
จังหวัดมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเป็นธรรม รวมทั้งมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรทราบ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น
จังหวัดต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
ตัวอย่าง : กรมชลประทาน
แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล(HR Scorecard) กรมชลประทาน
HR3
จังหวัดต้องดำเนินการตามแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่กำหนดไว้ใน SP3 ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
1.แต่งตั้งคณะกรรมการฯ
9. ติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ฯ
2.สร้างความรู้ความเข้าใจ
ให้ผู้เกี่ยวข้อง
3. ประเมินสถานภาพด้าน HR และวิเคราะห์ความคาดหวังผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
8. นำแผนกลยุทธ์ฯไปปฏิบัติ
4. กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
7. จัดทำแผนปฏิบัติการด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
6. กำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานของแต่ละเป้าประสงค์และค่าเป้าหมาย
5. กำหนดเป้าประสงค์เชิง กลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
(7) ทบทวนร่างแผนกลยุทธ์ฯ
(7) นำเสนอแผนกลยุทธ์ฯ
ตัวอย่าง : กรมชลประทาน
ขั้นตอนการจัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลกรมชลประทาน
จังหวัดต้องมีระบบการประกันคุณภาพของการฝึกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่าของการพัฒนา/ฝึกอบรมบุคลากร
หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพของการฝึกอบรม
บทนำ
เหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีการกำหนดหลักเกณฑ์ และคำนิยามหรือขอบเขตของหลักสูตรการฝึกอบรม ที่ต้องดำเนินการตามหลักเกณฑ์
วัตถุประสงค์ : กำหนดวัตถุประสงค์ของการจัดทำหลักเกณฑ์
หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพ
ให้กำหนดหลักเกณฑ์กลางที่จะใช้ร่วมกันในหน่วยงาน รวมถึงวิธีการประเมินประสิทธิผลการอบรม เช่น
เนื้อหาหลักสูตร
เนื้อหาหลักสูตรต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และสามารถบรรลุ เป้าหมายที่กำหนด
ความเหมาะสมผู้เข้ารับการอบรม
การจัดอบรมในรูปแบบการอภิปราย ต้องมีผู้เข้าอบรมไม่เกิน 20 คน
ผู้เข้ารับการอบรมต้องมีความรู้พื้นฐานหรือปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ หลักสูตรนั้น ๆ
คุณสมบัติของวิทยากร
วิทยากรต้องเป็นผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ตรงกับหลักสูตรที่ อบรม และต้องมีประสบการณ์ในด้านนั้น ๆ อย่างน้อย 5 ปี
เทคนิคการฝึกอบรม
ในการอบรมแต่ละหลักสูตรต้องมีสัดส่วนของการบรรยาย และ Workshop เป็น 60:40
สถานที่ใช้อบรม
การจัดสถานที่อบรมต้องให้เหมาะสมกับหัวข้อการอบรมหรือกิจกรรมที่ใช้
การวัดและประเมินผลการฝึกอบรม
ในการอบรมแต่ละหลักสูตรต้องมีการวัดผลความรู้ความเข้าใจของผู้เข้ารับ การอบรมก่อนเริ่มการอบรมทุกครั้ง (Pretest)
จังหวัดต้องมีระบบการแลกเปลี่ยนความรู้หรือทักษะระหว่างบุคลากรภายในจังหวัดที่มีประสิทธิผล
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด
68
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด
69
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด
70
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด
71
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด
72
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management)
ให้จังหวัดเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด
73