1 / 10

สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)

สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN). ปีงบประมาณ 2553 (ตุลาคม 2552 - กันยายน 255 3). รายงาน. ความครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา ความครบถ้วน : ตรวจสอบไม่มีข้อมูลว่าง/ ประหลาดๆ เช่น ช่องอ้างอิงสูตร ความถูกต้อง : ตรวจสอบความสอดคล้อง

Download Presentation

สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN) ปีงบประมาณ 2553 (ตุลาคม 2552- กันยายน 2553)

  2. รายงาน • ความครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา • ความครบถ้วน : ตรวจสอบไม่มีข้อมูลว่าง/ ประหลาดๆ เช่น ช่องอ้างอิงสูตร • ความถูกต้อง : ตรวจสอบความสอดคล้อง • ความทันเวลา : ส่งภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน

  3. กราฟแสดงความทันเวลา ครบถ้วน ถูกต้องของรายงานADMIN

  4. อัตราการสำรองยา (เกณฑ์ ไม่เกิน 3 เดือน) • อัตราการสำรองยาเฉลี่ย ทั้งจังหวัดเฉลี่ย เป็น 1.77 เดือน (มูลค่าคงคลังเดือนสุดท้ายเทียบกับอัตราการใช้เฉลี่ย 12เดือน) • รพ.ที่มีการสำรองยา น้อยที่สุด คือ ยะรัง เป็น 0.86 รองลงมา คือรพ.ปัตตานี เป็น 1.09 และ โคกโพธิ์ เป็น 1.36 โดยไม่มีรพ.ใดที่มีการสำรองยามากกว่า 3 เดือน

  5. กราฟแสดงอัตราการสำรองยาของโรงพยาบาลในจังหวัดปัตตานี 2553 หมายเหตุ : เฉพาะรพ.มายอ เป็นข้อมูล 10 เดือน (ตค.52-กค.53)

  6. สัดส่วน ระหว่างยา ED: ED • รพ.ปัตตานี (เกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 4) ยา ED 553 รายการ NED 167 รายการ คิดเป็น 3.31 • รพช. (เกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 9) ไม่มี รพช. ใดที่มี อัตรารายการยา ED/NEDน้อยกว่าที่ กำหนด

  7. การจัดซื้อยาร่วม • ยาร่วม เกณฑ์ ร้อยละ 20 ทั้งจังหวัดเฉลี่ย เป็น 22.89 (37.40 ล้านบาท จาก 163.40 ล้านบาท) • โรงพยาบาลที่จัดซื้อยาร่วมมากที่สุด คือ รพร. สายบุรี ร้อยละ 44.14 (3.77 ล้านบาทจาก 8.54 ล้านบาท) น้อยที่สุด คือ รพ.ปัตตานี ร้อยละ15.38 (13.93 ล้านบาทจาก 90.55 ล้านบาท)

  8. การจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรมการจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม • เกณฑ์ ร้อยละ ( รพช 35 / รพท 8 ) โรงพยาบาลในจังหวัดปัตตานี มีการจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม คิดเป็นร้อยละ 22.89 ของมูลค่าการจัดซื้อยาทั้งหมด (30.04 ล้านบาท จาก 163.40 ล้านบาท) โดยโรงพยาบาลปัตตานี จัดซื้อน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 9.03 (8.18 ล้านบาท จาก 90.55 ล้านบาท)

  9. การจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม (ต่อ) • เกณฑ์ ร้อยละ ( รพช 35 / รพท 8 ) โรงพยาบาลชุมชน มีการจัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม คิดเป็นร้อยละ 30.01 ของมูลค่าการจัดซื้อยาทั้งหมดของโรงพยาบาลชุมชน (21.86 ล้านบาทจาก 72.85 ล้านบาท) โรงพยาบาลที่มีการจัดซื้อเกินร้อยละ 35 มีจำนวน 5 แห่ง คือ รพ.ยะหริ่ง (ร้อยละ 39.16) แม่ลาน (ร้อยละ 38.54) กะพ้อ (ร้อยละ 37.75) มายอ (ร้อยละ 37.03) และทุ่งยางแดง (ร้อยละ 35.24)

  10. จบแล้วค่ะ

More Related