350 likes | 674 Views
ความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ ( Reproductive Failure ). ประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ การวัดประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ สาเหตุของความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ ความผิดปกติทางพันธุกรรม ปัจจัยทางด้านโภชนะ ความเครียดจากสิ่งแวดล้อมและการจัดการฟาร์ม โรคทางระบบสืบพันธุ์.
E N D
ความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ (Reproductive Failure) • ประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ การวัดประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ • สาเหตุของความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ • ความผิดปกติทางพันธุกรรม • ปัจจัยทางด้านโภชนะ • ความเครียดจากสิ่งแวดล้อมและการจัดการฟาร์ม • โรคทางระบบสืบพันธุ์ อ. กฤติยา เลิศชุณหะเกียรติ
ประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์
การจัดการด้านการสืบพันธุ์โคเนื้อการจัดการด้านการสืบพันธุ์โคเนื้อ • การคัดเลือกโคเพศเมียเพื่อทดแทน ควรจัดไว้เกิน 2 เท่าของแม่โคคัดทิ้ง • อายุเริ่มผสมพันธุ์ โคเพศเมีย อายุไม่เกิน 8 เดือน • โคเนื้อเพศผู้อายุ 2 ปี – 2 ปีครึ่ง คุมฝูงเพศเมียประมาณ 12 – 25 ตัว • โคเนื้อเพศผู้อายุ 3 ปี ขึ้นไป คุมฝูงเพศเมียประมาณ 20 – 30 ตัว • แม่โคตั้งท้องประมาณ 282 +/- 8 วัน (274 – 290 วัน) • จำนวนวันกลับสัดปกติ 21 วัน • หย่านมลูกโค ประมาณ 200 วัน • กลับสัดหลังคลอดประมาณ 3 – 4 เดือน และไม่จับผสมเมื่อเป็นสัดหลังคลอดครั้งแรก (ควรผสมหลัง 60 วันหลังคลอด การผสมภายใน 40 วันจะทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย)
การจัดการด้านการสืบพันธุ์โคนมการจัดการด้านการสืบพันธุ์โคนม • การคัดเลือกโคเพศเมียเพื่อทดแทน ควรจัดไว้เกิน 2 เท่าของแม่โคคัดทิ้ง • อายุเริ่มผสมพันธุ์ โคเพศเมีย อายุไม่เกิน 8 เดือน • โคนมเพศผู้อายุ 2 ปี – 2 ปีครึ่ง คุมฝูงเพศเมียประมาณ 12 – 25 ตัว • โคนมเพศผู้อายุ 3 ปี ขึ้นไป คุมฝูงเพศเมียประมาณ 20 – 30 ตัว • แม่โคตั้งท้องประมาณ 282 +/- 8 วัน (274 – 290 วัน) • จำนวนวันกลับสัดปกติ 21 วัน • หย่านมลูกโค หลังจากได้กินนมน้ำเหลือง (Colostrums 3 วัน) และให้น้ำนมต่อประมาณ 1 เดือน และให้นมผงละลายน้ำต่อไปจนอายุประมาณ 12 – 16 สัปดาห์ • กลับสัดหลังคลอดประมาณ 3 – 4 เดือน และไม่จับผสมเมื่อเป็นสัดหลังคลอดครั้งแรก (ควรผสมหลัง 60 วันหลังคลอด การผสมภายใน 40 วันจะทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย)
การจัดการด้านการสืบพันธุ์สุกรการจัดการด้านการสืบพันธุ์สุกร * อายุเริ่มผสมพันธุ์ สุกรเพศเมีย อายุไม่เกิน 8 เดือน • สุกรเพศผู้อายุ 8 เดือนขึ้นไป นิยมใช้ผสมเทียมมากกว่า • แม่สุกรตั้งท้องประมาณ 114 +/- 3 วัน (3 เดือน 3 สัปดาห์ 3 วัน) • จำนวนวันกลับสัดปกติ 21 วัน • หย่านมลูกสุกร ประมาณ 28 วัน • กลับสัดหลังคลอดประมาณ 3 วัน - 1 สัปดาห์ และไม่จับผสมเมื่อเป็นสัดหลังคลอดครั้งแรก
การวัดประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์การวัดประสิทธิภาพทางการสืบพันธุ์ (Measures of reproductive efficiency) • อายุเมื่อคลอดลูกตัวแรก(First calf age,month) • จำนวนวันท้องว่าง (Days open, day) • อัตราการตั้งท้องเมื่อผสมครั้งแรก (First-service conception rate,%) • ช่วงห่างระหว่างการคลอดลูก (Calving interval, day) • จำนวนครั้งที่ผสม/การตั้งท้อง (Service per conception) • อัตราการตั้งท้อง (Pregnancy rate, %) • อัตราการคลอดลูก (Calving rate, %) • ผลผลิตลูก (Net calf crop, %)
สาเหตุของความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์สาเหตุของความล้มเหลวทางการสืบพันธุ์ (Causes of Reproductive Failure) ความผิดปกติทางพันธุกรรม 1.ระบบสืบพันธุ์ไม่พัฒนา เช่น ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ (มีโครโมโซมเพศมาก/น้อยเกินไป)ทำให้เกิดการฝ่อของอัณฑะหรือรังไข่ (Testicular hypoplasia or ovarian hypoplasia)
**อาการผิดปกติที่พบ เช่น การขาดหายไปของอวัยวะบางอย่าง ได้แก่ปีกมดลูก ปากมดลูก ช่องคลอด หรืออวัยวะสืบพันธุ์ **มีลักษณะการพับงอหรืออุดตันของท่อนำไข่ **รังไข่เป็นถุงน้ำ (cystic ovary)
2.ไม่สมบูรณ์พันธุ์และเป็นหมัน Chimerism Mosaicism
การตายก่อนเกิด Triploid Tetraploid การได้รับผลของเพศตรงข้าม (Intersexuality) True hermaphrodite female pseudohermaphrodite male pseudohemaphrodite Freemartin ภาพความผิดปกติของ True hermaphrodite ในสุกร
ปัจจัยทางด้านโภชนะ 1.พลังงาน การได้รับพลังงานเกิน :ผลผลิตต่ำ แท้ง คลอดลำบาก รกค้าง ความกำหนัดต่ำ การขาดพลังงาน : ถึงวัยหนุ่มสาวช้า แสดงการเป็นสัดไม่ชัดเจน มีปัญหาการตกไข่ ความกำหนัดต่ำ การผลิตอสุจิน้อย 2. โปรตีน การได้รับโปรตีนเกิน :การผสมติดต่ำ การขาดโปรตีน : แสดงการเป็นสัดไม่ชัดเจน การผสมติดต่ำ ตัวอ่อนตาย แท้ง ลูกอ่อนแอ
3. วิตามิน การขาดวิตามินA : มีปัญหาต่อกระบวนการผลิตอสุจิ รังไข่ ไม่ทำงาน ผสมติดต่ำ แท้ง ลูกอ่อนแอ ลูกตาย รกค้าง
การขาดวิตามิน D : ในสัตว์ที่ตั้งท้องไม่ควรให้ขาดวิตามินดี เนื่องจากช่วยในการพัฒนาของกระดูกของลูกสัตว์ โดยเฉพาะในช่วงใกล้คลอดจะมีผลต่อการขยายตัวของกระดูก เชิงกราน
การขาดวิตามิน E : ลูกในท้องถูกดูดซึมกลับ (reabsorption) เพศผู้เป็นหมันถาวร
การขาดแคลเซียม: การพัฒนาของกระดูกผิดปกติ ลูกรอดชีวิตน้อยลง
การขาดฟอสฟอรัส : รังไข่ไม่ทำงาน วงรอบสัดผิดปกติ
การขาดไอโอดีน : ลูกในท้องโตช้า วงรอบสัดผิดปกติ รกค้าง การขาดซีลีเนียม : รกค้าง
สารพิษที่ปนเปื้อนในอาหาร: อันตรายขึ้นกับชนิดสัตว์ ความเป็นพิษ ขนาดที่ได้รับ ระยะเวลาที่ได้รับ และความ สามารถของร่างกายในการกำจัดสารพิษ (detoxification) ตัวอย่างสารพิษ เช่น สารพิษจากเชื้อราในอาหาร เช่น fumonisin , zearalinone ทำให้อวัยวะในระบบสืบพันธุ์เพศผู้ และเพศเมียของสัตว์เกิดการบวมน้ำ สารพิษจากพืชบางชนิด (Phytoestrogen) สามารถทำให้ เกิกความผิดปกติของเซลล์ในกระบวนการ spermatogenesis และอวัยวะในระบบสืบพันธุ์ในหนูขาวเพศผู้และสัตว์เลี้ยงลูกด้วย นมอื่นๆ
การจัดการให้อาหาร กลุ่มที่ต้องระมัดระวังในการให้อาหารมากที่สุด คือ กลุ่มตั้งท้อง โดยเฉพาะช่วงปลายของการตั้งท้อง หากแม่ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลต่อการเจริญเติบโต ของลูก และในสัตว์บางชนิดซึ่งพบพฤติกรรมการกินลูกเมื่อขาด สารอาหาร เช่น กระต่าย หนู เป็นต้น การปรนอาหาร (Flushing) การเพิ่มระดับพลังงานในอาหารสุกรสาวช่วยทำให้การตกไข่ เพิ่มขึ้นในสุกร โค และแกะ นอกจากนี้ยังช่วยเพิ่มโอกาสเกิด ลูกแฝดในโคนม ในสัตว์เพศผู้หากไม่ปรนอาหารสัตว์จะเป็นหนุ่มช้ากว่าปกติ
ความเครียดจากสิ่งแวดล้อมความเครียดจากสิ่งแวดล้อม ความเครียด (stress) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาวะ แวดล้อม ที่รุนแรงในระดับที่มีผลต่อพฤติกรรมและการตอบ สนองทางสรีรวิทยาของสัตว์ในทางไม่ดี เช่น เกิดจากความ ร้อน การปล่อยขุนอย่างหนาแน่น สภาวะแวดล้อมไม่ดี การจัดการไม่ดี
ความเครียดจากความร้อน มีผลเสียดังนี้ 1. เข้าวัยหนุ่มสาวช้า 2.ผลผลิตอสุจิต่ำลงทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ 3.แสดงอาการเป็นสัดไม่ชัดเจน และอัตราการผสมติดต่ำ ความสัมพันธ์ทางสรีรวิทยาของสิ่งแวดล้อมกับการสืบพันธุ์ สัตว์จะมีการตอบสนองผ่านกลไกของต่อมไร้ท่อ โดยความ เครียดจะกระตุ้นให้มีการหลั่ง ACTH จากต่อมใต้สมองส่วน หน้า ไปกระตุ้นต่อมหมวกไตให้หลั่ง cortisol และ glucocorticoids อื่นๆ ซึ่งส่งผลให้ LH หลั่งน้อยลง หากความเครียดเกิดในช่วงใกล้เคียงการเป็นสัดจะไปขัดขวาง การตกไข่ ส่วนในเพศผู้จะมีความกำหนัดลดลง
ปัจจัยที่ช่วยในการบรรเทาความร้อน ได้แก่ 1. ร่มเงา 2.การเลือกวัสดุมุงโรงเรือน การใช้ฉนวนความร้อนที่หลังคา ใช้สีขาวทาทำให้สะท้อนแสงได้ดีขึ้น 3.การจัดการภายในโรงเรือน ไม่เลี้ยงสัตว์หนาแน่นเกินไป 4.ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ช่วย 4.1 พัดลม หรือตัวดูดอากาศ ช่วยระบายความร้อน 4.2 พ่นหมอก(spray) โดยตรง 4.3 ใช้ระบบการระเหยของน้ำ (evaporative cooler) 5.การให้น้ำและอาหาร เช่น น้ำเย็น
โรคที่เกิดจากแบคทีเรียโรคที่เกิดจากแบคทีเรีย • โรคที่เกิดจากไวรัส • โรคที่เกิดจากโปรโตซัว โรคพยาธิ โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย 1. Vibriosis (Bovine venerael* campylobacteriosis 0r BVC) -Cause of Infertility and abortion -Caused by the bacteriumCampylobacterfetus -can be infected for a long time without showing any signs of illness -Prevention by vaccination * venerael = แพร่จากการผสมพันธุ์
2. Leptospirosis **can affect humans -Cause of Infertility and abortion -Caused by the bacteriumLeptospires in mammals -signs of illness: like the flu,vomiting,diarrhea, refusal to eat, weakness but infection in the kidney, liver, brain,lung and heart -infected by contact with urine or other body fluids except saliva -the bacteria can enter the body through skin or mucous membrane (eyes,nose,mouth) -Prevention by vaccination
3. Brucellosis **can affect humans -Cause of abortion -Caused by the bacteriumBrucella abortus in mammals -signs of illness: like the flu, headaches, back pains ,weakness (chronic symptoms that recurrent fever, joint pain and fatigue) -infected by eating or drinking something that is contaminated with Brucella , breathing (Inhalation) or through skin wounds. - vaccination for calf age 3 - 8 months and culling-destroy infected animals -NO vaccine for human
โรคที่เกิดจากไวรัส 1. Bovine Viral Diarrhea (BVD) -Cause of abortion and abnormal fetus (teratogenicity) -Sign of illness : anorexia and dirrhaea -Infection by contact disease and environmental involve fluid from infected animals -Prevention by vaccination
Infectious Bovine Rhinotracheitis (IBR-IPV virus) -Cause of abortion and reduced fertility -Sign of illness : anorexia and dirrhaea -Infection by contact disease and environmental involve fluid from infected animals -Prevention by vaccination
โรคที่เกิดจากโปรโตซัวโรคที่เกิดจากโปรโตซัว 1.Trichomoniasis * venereal disease -Cause of reduced conception rates, lowered weaning weight -Caused by the protozoaTrichomonas fetus in cattle -lives on the tissue lining of the penis and prepuce -Infection in the cow occurs primarily by exposure to an infected bull at breeding and contaminated insemination equipment -prevention and control by sampling method in the bull
2.Toxoplasmosis **can affect humans -Cause of abortion -Caused by the protozoaToxoplasma gondii in mammals -the organisms multiply in the wall of intestine and produce oocysts, within 5 days the oocysts may sporulate become infectious to other animals and human -Two drugs can often used = sulfadiazine + pyrimethamine