530 likes | 895 Views
การนำเสนอ ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ ที่ดำเนินการในจังหวัดระยอง ปี 2553. อำพร บุศรังษี กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย โทร 0 2590 4349 นำเสนอในการอบรมการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ
E N D
การนำเสนอระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ ที่ดำเนินการในจังหวัดระยอง ปี 2553 อำพร บุศรังษี กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามัย โทร 0 2590 4349 นำเสนอในการอบรมการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ วันที่ 11 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมสตาร์ http://hia.anamai.moph.go.th/hia
ประเด็นที่จะนำเสนอ • HIA กับการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ • หลักการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ • การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากมลพิษอากาศ ในชุมชนมาบชลูด • การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ จากมลพิษอากาศ รอบสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ ในจังหวัดระยอง • การดำเนินงานในปีต่อไป 2554 • ข้อเสนอต่อการเฝ้าระวังใน จ.ระยอง แก้ไข
HIA กับ การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ
ขั้นตอนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพขั้นตอนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กระบวนการ มีส่วนร่วม ของ ทุกภาคส่วน ในการดำเนิน งาน ทุกขั้นตอน พิจารณาว่าจำเป็นต้องทำ HIA หรือไม่ โดย วิเคราะห์โครงการ ผลกระทบความรุนแรงต่อปัจจัยกำหนดสุขภาพ และกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย การกลั่นกรอง (Screening) กำหนดขอบเขตของการประเมินHIA ระบุประเด็นสุขภาพ กำหนดเครื่องมือประเมินผลกระทบ ระบุ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กลุ่มอ่อนไหว / กลุ่มเสียง การกำหนดขอบเขตการศึกษา (Scoping) รวบรวมข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง ใช้เครื่องมือประเมินผลกระทบทางสุขภาพทางวิทยฯ สังคม เศรษฐศาสตร์(ประเมินความเสี่ยง/ระบาดวิทยาฯลฯ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Appraisal) • นำข้อมูลเสนอในเวทีระดมความคิดเห็น • จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • - จัดทำรายงาน/ข้อเสนอแนะต่อผู้มีอำนาจตัดสินใจ การจัดทำรายงาน/ข้อเสนอแนะ(Report/ Recommendation) - ติดตามละประเมินผล การติดตามประเมินผล (Monitoring/Evaluation)
โครงการรัฐ โครงการเอกชน HIA ผลกระทบต่อสุขภาพ บวก ลบ เฝ้าระวัง รายงานและข้อเสนอแนะ มาตรการ ป้องกัน/ลด ผลกระทบต่อสุขภาพ มาตรการ ติดตามเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ มาตรการ สร้างเสริม สุขภาพ การติดตามตรวจสอบและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)
ขั้นตอนของระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมขั้นตอนของระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แก้ไข รายงานผล มีระบบเก็บข้อมูล สุขภาพและสิ่งแวดล้อม บอกความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัย ด้านสิ่งแวดล้อมกับปัญหาสุขภาพ แก้ไขโดยผู้ก่อมลพิษ ผู้ได้รับผลกระทบ หน่วยงานรัฐ เผยแพร่/รายงาน แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกช่องทางสื่อ
ชนิดของระบบเฝ้าระวัง ระบบเฝ้าระวังเชิงรุก ระบบเฝ้าระวังเชิงรับ - ข้อมูลสิ่งแวดล้อม เช่น คุณภาพอากาศจากกรม คพ. - ข้อมูลสุขภาพ เช่น อาการ โรคจากสถานพยาบาล - ข้อมูลสิ่งแวดล้อม เช่น คุณภาพอากาศจากกรม คพ. - ข้อมูลสุขภาพ เช่น เก็บข้อมูลอาการเจ็บป่วยจากชุมชน
การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม เชื่อมโยงระหว่าง สุขภาพ มลพิษสิ่งแวดล้อม แก้ไข
ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์ต้องใช้สถิติความสัมพันธ์ Poisson regression ถึงจะทำให้ข้อมูลที่ได้มาคุ้มค่า และนำผลไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าการใช้ แค่เพียงร้อยละหรืออัตราส่วน ซึ่งต้องใช้โปรแกรมSPSS ในการวิเคราะห์
ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม • ไม่เหมาะที่จะทำใหญ่เป็นระบบเดียวในระดับประเทศ เพราะในแต่ละพื้นที่มีมลพิษสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน • ต้องเป็นระบบเฝ้าระวังฯ เฉพาะพื้นที่ ซึ่งต้องมีข้อมูลทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
พิจารณาผลจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังพิจารณาผลจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง
การพิจารณาเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ตามวิจัยแบบที่ 1 • ชุมชนมาบชลูดมีประชากรตัวอย่างที่มีอาการปวดศีรษะ และประชากรตัวอย่างที่มีอาการเวียนศีรษะ จำนวนมากกว่าชุมชนอื่น • มีสารวีโอซีบางชนิดที่มีความสัมพันธ์กับอาการปวดศีรษะ มีสารวีโอซีบางชนิดที่มีความสัมพันธ์กับอาการเวียนศีรษะ • กรมควบคุมมลพิษตรวจวัด • สารวีโอซีเป็นรายเดือน • กรมควบคุมมลพิษตรวจวัด • สารมลพิษหลัก 5 ชนิด เป็นรายวัน พิจารณาผลจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง แก้ไข
การพิจารณาเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ตามวิจัยแบบที่ 2 • มีสารวีโอซีบางชนิดที่มีความสัมพันธ์กับอาการเวียนศีรษะ • ไม่สามารถใช้เครื่อง พีพีบี แร 3000 ตรวจวัดทุกวันไปตลอดปีได้ พิจารณาผลจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง
การพิจารณาเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ตามวิจัยแบบที่ 3 • มีสารวีโอซีบางชนิดที่มีความสัมพันธ์กับอาการปวดศีรษะ มีสารวีโอซีบางชนิดที่มีความสัมพันธ์กับอาการเวียนศีรษะ • เครื่องมือแบบแพร่ชนิดท่อ (Passive sampler) เสียค่าตรวจสูง ไม่เหมาะสมที่จะนำมาใช้ในการเฝ้าระวัง พิจารณาผลจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง
1 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ ชุมชนมาบชลูด
ผู้ดำเนินการ • กรมอนามัย • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง • เทศบาลเมืองมาบตาพุด ที่ปรึกษา รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพวิวรรธนะเดช ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชนคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ที่ให้ความร่วมมือ กรมควบคุมมลพิษ กรมอุตุนิยมวิทยา อสม. แกนนำชุมชน ประชาชนชุมชนมาบชลูด
ชุมชนมาบชลูด ชุมชนมาบชลูด
การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ เชื่อมโยงระหว่าง มลพิษอากาศ อาการสุขภาพ
การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ (การเฝ้าระวังเชิงรุก) สารพื้นฐาน SO2 NO2 O3 CO PM10 สารอินทรีย์ระเหยง่าย (วีโอซี) 9 ชนิด ตามมาตรฐาน ข้อมูลสุขภาพ อาการ 5 ระบบ - ระบบประสาท - ระบบทางเดินหายใจ - ระบบหัวใจและหลอดเลือด - ระบบผิวหนัง - ระบบสายตา
การเก็บรวบรวมข้อมูล • ชุมชน: มาบชลูด (มีประมาณ 500 หลังคาเรือน) • ประชากร : อายุ 10 ปีถึงคนที่มีอายุที่ยังสามารถ • กรอกข้อมูลได้ • : จำนวน 300 คน ตามความสมัครใจของ • ประชาชน • เก็บข้อมูล : คุณภาพอากาศ อุตุนิยมวิทยา สุขภาพ • ระยะเวลา : 1 ปี
การเก็บรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลคุณภาพอากาศ • - สารวีโอซี 9 ชนิด เดือนละ 1 ครั้ง • - สารพื้นฐาน : SO2 NO2 O3 CO PM10 • ใช้ค่า MAX • ค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมง
การเก็บรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลบริบท คือ อุตุนิยมวิทยา • - เก็บทุกวัน : ความเร็วลม ความชื้นสัมพัทธ์ • ความกดอากาศระดับน้ำทะเล • ทัศนวิสัยภาคพื้นดิน • อุณหภูมิ ปริมาณฝน • - เก็บเป็นช่วง : ทิศทางลม
การเก็บรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลสุขภาพ - เก็บทุกวัน • - ระบบประสาท • - ระบบทางเดินหายใจ • - ระบบหัวใจและหลอดเลือด • - ระบบผิวหนัง • - ระบบสายตา สมุดบันทึกสุขภาพ ของแต่ละคน เล่มละ 1 เดือน
การเก็บรวบรวมข้อมูล • ข้อมูลกวน • - เก็บครั้งเดียว : ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในที่อาศัยปัจจุบัน • ภูมิลำเนาเดิม เพศ อายุ อาชีพ • สถานภาพปัจจุบัน การตั้งครรภ์ • โรคประจำตัว สูบบุหรี่ • ระยะห่างระหว่างบ้านกับอู่ซ่อมรถ/ปั๊มน้ำมัน • - เก็บทุกวัน : ป่วย ทานยา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • เครื่องดื่มชูกำลัง ควันธูป สูบบุหรี่ • ควันจากการประกอบอาหาร กลิ่น
การดำเนินการ • 1. ปรึกษาหารือ/วางแผนกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและ อสม. • 2.เตรียมชุมชน – อสม. /แกนนำ • ทำความเข้าใจในหลักการเฝ้าระวัง * • ชี้แจงระบบเฝ้าระวังที่จะร่วมกันทำ • ร่วมกันให้ความเห็น/ทำความเข้าใจ/ปรับสมุดสุขภาพ • 3. รวบรวมประชาชนที่จะเฝ้าระวัง • - ประชาชนที่สมัครใจที่จะกรอกข้อมูลสมุดบันทึกสุขภาพ • ได้ 300 คน จาก 500 หลังคาเรือน • 4. เก็บข้อมูล 1 สิงหาคม 2553 – 31 กรกฎาคม 2554 • 5.ประสานขอข้อมูล:กรมอุตุนิยมวิทยาและกรมควบคุมมลพิษ
การเกิดผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมการเกิดผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวัง ปรอท วีโอซี... สิ่งแวดล้อม สรุปการเกิดโรคจากสิ่งแวดล้อม
สมุดบันทึกสุขภาพ กรมอนามัย สสจ. เทศบาล อสม. กระตุ้นประชาชนกรอกข้อมูลทุกวัน ประชาชน กรอกข้อมูลทุกวัน กรมควบคุมมลพิษ : VOCs 9ชนิด NO2 SO2 O3 CO PM10 อสม.รวบรวม เทศบาลเมือง มาบตาพุด กรมอุตุนิยมวิทยา :ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา การไหลของข้อมูล เว็บไซต์กรมอนามัย กรมอนามัย ลงข้อมูล/วิเคราะห์ แปลผล/รายงาน
ป้อนข้อมูลเข้าโปรแกรมฯ แสดงผลเป็นกราฟและตัวเลขของข้อมูลที่เลือก วิเคราะห์สถิติอัตโนมัติ การไหลของข้อมูล เว็บไซต์กรมอนามัย กรมอนามัย ลงข้อมูล/วิเคราะห์ แปลผล/รายงาน
2 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ รอบสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ของกรมควบคุมมลพิษ ในจังหวัดระยอง
ผู้ที่ให้ความร่วมมือ ผู้ดำเนินการ • กรมอนามัย • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง • สถานีอนามัยมาบตาพุด ที่ปรึกษา รศ.ดร.นพ.พงศ์เทพวิวรรธนะเดช ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชนคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรมควบคุมมลพิษ กรมอุตุนิยมวิทยา
การเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ เชื่อมโยงระหว่าง มลพิษอากาศ อาการสุขภาพ
กรมควบคุมมลพิษ มีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ เฝ้าระวังสาร 5 ชนิด คือ PM10 CO NO2 SO2O3 มีผลต่อสุขภาพ
สถานพยาบาลรอบรัศมี 10 กิโลเมตร สถานพยาบาล สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ สถานพยาบาล สถานพยาบาล สอ.มาบตาพุด (นำร่อง)
เป็นระบบเฝ้าระวังเชิงรับเป็นระบบเฝ้าระวังเชิงรับ • ข้อมูลคุณภาพอากาศ 5ชนิด • จากสถานีตรวจวัดคุณภาพ • อากาศของ คพ. • - ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา • ข้อมูลสุขภาพ • จากสถานพยาบาลในรัศมี10 กม. ระบบเฝ้าระวังเชิงรับ
การป้อนข้อมูลเข้าสู่โปรแกรมฯ เป็นข้อมูลรายวัน • ข้อมูลคุณภาพอากาศ จากกรมควบคุมมลพิษ - สารมลพิษพื้นฐาน 5 ตัว : PM10CO NO2 SO2O3 • ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา จากกรมอุตุนิยมวิทยา - ทัศนวิสัยภาคพื้นดิน ความกดอากาศระดับน้ำทะเล อุณหภูมิ ปริมาณฝน ความชื้นสัมพัทธ์ ความเร็วลม ทิศทางลม • ข้อมูลสุขภาพจาก - สถานีอนามัย : อาการ
ข้อมูลสุขภาพ(อาการ)ที่เกี่ยวข้องกับมลพิษอากาศข้อมูลสุขภาพ(อาการ)ที่เกี่ยวข้องกับมลพิษอากาศ • อาการ 21 อาการ ใน 5 ระบบ • ระบบทางเดินหายใจ : คัดจมูก มีน้ำมูก แสบจมูก เลือดกำเดาไหล แสบคอ เสียงแหบ ไอแห้งๆ ไอมีเสมหะ หายใจลำบาก หายใจมีเสียงหวีด • ระบบหัวใจและหลอดเลือด :เหนื่อยง่าย เท้าบวม ชีพจร(หัวใจ)เต้นเร็ว • ระบบประสาท:ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ • ระบบผิวหนัง :คันตามร่างกาย มีผื่นแดงตามร่างกาย • ระบบสายตา :แสบหรือคันตา ตาแดง น้ำตาไหล มองภาพไม่ค่อยชัด
โดยใช้ข้อมูลจำนวนครั้ง (Episodes) ในการเข้ารับบริการที่สถานพยาบาล ข้อมูลสุขภาพ (โรค) ที่เกี่ยวข้องกับมลพิษอากาศ (ไม่ได้ใช้ข้อมูลนี้เพราะเป็นสถานีอนามัย) • โรค 30 โรค ประกอบด้วยระบบ ดังนี้ • โรคระบบการหายใจ • โรคมะเร็ง • ปัญหาของพัฒนาการ • โรคหัวใจและหลอดเลือด • โรคระบบประสาท • โรคระบบภูมิคุ้มกันตนเอง • โรคไต • โรคตับ • โรคระบบโลหิตวิทยา • โรคทางจิตเวช
การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผล • ลักษณะของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น • ป้อนข้อมูลสุขภาพ สิ่งแวดล้อม อุตุนิยมวิทยาเป็นข้อมูลรายวัน • แสดงข้อมูลสุขภาพ สิ่งแวดล้อม อุตุนิยมวิทยา เป็นตัวเลข ตามเวลาและสถานที่ต่างๆ • แสดงกราฟเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างข้อมูลสุขภาพกับสิ่งแวดล้อมและอุตุนิยมวิทยา ตามเวลาและสถานที่ต่างๆ ทางหน้าจอผ่าน Website • สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้โดยอัตโนมัติ โดยจะหาความ สัมพันธ์ระหว่างข้อมูลสุขภาพและสิ่งแวดล้อมได้ แก้ไข
ขั้นตอนการเข้าเวบไซต์ขั้นตอนการเข้าเวบไซต์ • เข้าเว็บไซต์ http://hia.anamai.moph.go.th/hia • เลือก ช่องอากาศ • เลือก แถบบริการข้อมูล ดังรูป
เลือกช่องอากาศ แก้ไข
เลือก แถบบริการข้อมูล แก้ไข
ตัวอย่างการให้บริการข้อมูลตัวอย่างการให้บริการข้อมูล เลือกวัน เวลาที่ต้องการได้ เลือกสถานที่และอาการของโรคที่ต้องการได้ เลือกสถานีตรวจวัด/สารมลพิษ /ค่า Lagที่ต้องการได้ เลือกค่าอุตุนิยมวิทยาที่ต้องการได้
ตัวอย่างกราฟ ที่ได้จากระบบเฝ้าระวังฯ แสดงกราฟเปรียบเทียบระหว่างข้อมูลจำนวนผู้มีปัญหา สุขภาพกับข้อมูลคุณภาพอากาศและข้อมูลอุตุนิยมวิทยา สถานที่ : จังหวัดลำปาง วันที่ 1/01/2010 – 10/01/2010 อาการของโรค : หอบหืด สถานีตรวจวัด : ศาลหลักเมือง สารมลพิษ :PM10 เฉลี่ย 24 ชม. อุตุนิยมวิยา : ทัศนวิสัยภาคพื้นดิน • ข้อมูลจำนวนผู้มีปัญหาสุขภาพ • ข้อมูลคุณภาพอากาศ • อุตุนิยมวิทยาฯ
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศการพัฒนาระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ • เนื่องจากการดูความสัมพันธ์ของข้อมูลสุขภาพกับข้อมูลสิ่งแวดล้อมค่อนข้างซับซ้อน จึงจำเป็นต้องวิเคราะห์เพิ่มเติมจากข้อมูลที่ได้จากโปรแกรม จึงจะทราบผลของความสัมพันธ์ • ขณะนี้อยู่ในระหว่างการรวบรวมและป้อนข้อมูล • ในส่วนข้อมูลคุณภาพอากาศและข้อมูลอุตุนิยมวิทยา กรมอนามัยเป็นผู้ป้อนข้อมูล • ข้อมูลอาการสุขภาพ สถานีอนามัยมาบตาพุดเป็นผู้ป้อนข้อมูล
ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบเฝ้าระวังฯนี้ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบเฝ้าระวังฯนี้ 1) เจ้าของพื้นที่ทราบผลการเฝ้าระวังได้ เมื่อกรอกข้อมูล สุขภาพเสร็จ 2) ทำให้นำผลที่ได้ไปรายงานและแก้ไขปัญหาได้เร็ว 3) เป็นการแก้ไขปัญหา การ Make ข้อมูล 4) ทุกคนที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสามารถดูข้อมูลได้ 5) ช่วยประหยัดเวลาเพราะมีโปรแกรมช่วยวิเคราะห์ได้
1. พัฒนาคู่มือการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ 2. พัฒนาโปรแกรมรองรับระบบเฝ้าระวังฯ/คู่มือใช้งานเว็บไซต์ 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ศูนย์อนามัย / สสจ.นำร่อง เป็นระยะๆ โดยให้ความรู้ในเรื่อง การเฝ้าระวัง ระบาดวิทยาและสถิติขั้นสูงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การใช้โปรแกรมฯ การดำเนินงานเพื่อสนับสนุน การพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ
4. การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง :คพ. กรมอุตุนิยมวิทยา 5. ต่อไปจะพัฒนาโปรแกรมเชื่อมโยงระหว่างระบบข้อมูล ระหว่างระบบสุขภาพด้วยกัน ระหว่างระบบสุขภาพกับระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อม การดำเนินงานเพื่อสนับสนุน การพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ
สสจ. ให้คำปรึกษาและควบคุมดูแล วิเคราะห์/แปลผล/รายงาน/แก้ไข สอ.ป้อนข้อมูลอาการ วิเคราะห์/แปลผล/รายงาน/แก้ไข ประชาชน วิเคราะห์/ แปลผล/รายงาน/แก้ไข หน่วยงานอื่น วิเคราะห์/แปลผล/รายงาน/แก้ไข เว็บไซต์กรมอนามัย กรมควบคุมมลพิษ : VOCs 9ชนิด PM10 NO2 SO2 O3 CO กรมอนามัย ลงข้อมูล/วิเคราะห์ แปลผล/รายงาน กรมอุตุฯ : ข้อมูลอุตุฯ การไหลของข้อมูล
ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ ในชุมชนมาบชลูด (ต่อเนื่อง) - สารพื้นฐาน 5 ชนิด (ข้อมูลรายวัน) • - สารวีโอซี 9 ชนิด (ข้อมูลรายเดือน) • ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ ในชุมชนโสภณ (เริ่มใหม่) • - สารพื้นฐาน 5 ชนิด (ข้อมูลรายวัน) • - สารวีโอซี 4 ชนิด (BTEX ข้อมูลรายวัน) การดำเนินงานระบบเฝ้าระวังฯ ปีงบประมาณ 2554
3. ระบบเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษอากาศ รอบสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ ในจังหวัดระยอง (ขยายพื้นที่/เพิ่มสาร BTEX) - สารพื้นฐาน 5 ชนิด (ข้อมูลรายวัน) - สาร BTEX (ข้อมูลรายวัน) - สถานพยาบาล -- รพ.มาบตาพุด -- สอ.มาบตาพุด -- ศูนย์บริการสาธารณสุขตากวน -- ศูนย์บริการสาธารณสุขเกาะกก -- ศูนย์บริการสาธารณสุขเนินพยอม การดำเนินงานระบบเฝ้าระวังฯ ปีงบประมาณ 2554