1.16k likes | 2.91k Views
Construction Management การจัดการหน่วยงานก่อสร้าง. หน้าที่ของผู้จัดการโครงการ. จัดเตรียมองค์การ บุคลากรในหน่วยงาน จัดพื้นที่หน่วยงาน Site Layout จัดระบบเอกสาร วางแผนงาน งานบัญชี และงานจัดหา ตรวจงานด้านเทคนิควิศวกรรม. หน้าที่ของผู้จัดการ.
E N D
Construction Management การจัดการหน่วยงานก่อสร้าง
หน้าที่ของผู้จัดการโครงการหน้าที่ของผู้จัดการโครงการ • จัดเตรียมองค์การ บุคลากรในหน่วยงาน • จัดพื้นที่หน่วยงาน Site Layout • จัดระบบเอกสาร • วางแผนงาน • งานบัญชี และงานจัดหา • ตรวจงานด้านเทคนิควิศวกรรม
หน้าที่ของผู้จัดการ • ต้องทราบสิ่งที่จะต้องทำ เพื่อให้ที่ทำงาน “พร้อม” ด้วยทรัพยากรทุกอย่าง และทำงานได้อย่างไม่สะดุด • ผู้จัดการต้องให้บุคคลอื่นทำงานตามต้องการ ให้ทราบหน้าที่ของตนเองและทำงานได้อย่างมีคุณภาพ • ผู้จัดการต้องรับผิดชอบในงานที่สั่งออกไป • ผู้จัดการสามารถปรับเปลี่ยนงานได้ตามความเหมาะสม
ทักษะของวิศวกรโครงการทักษะของวิศวกรโครงการ • ทักษะด้านเทคนิค วิศวกรรม เป็นพื้นฐาน • ทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ ประสานงานระหว่างบุคคล • ทักษะด้านการจัดการ ทำให้งานดำเนินไปได้ รวดเร็ว ไม่ติดขัด และ แก้ไขปัญหาต่างๆ • ท่านต้องตัดสินใจอย่างมีเหตุผล มีที่มาที่ไป อ้างอิงทฤษฎี
ทีมงานสนามโดยทั่วไป • วิศวกรโครงการ • วิศวกรสนาม • โฟร์แมน • ดราฟท์แมน • เซฟตี้ • สโตร์ • เลขานุการหน่วยงาน
จัดองค์การ งานขนาดเล็ก • วิศวกร 1 คน ทำงานทุกอย่าง • โฟร์แมน 1 คน คอยช่วยเหลือวิศวกร • ดราฟท์แมน 0 คน • เซฟตี้ 0 คน • สโตร์ 0 คน • เลขานุการหน่วยงาน 0 คน • สรุป ใช้ วิศวกร 1 คน โฟร์แมน 1-2 คน
จัดองค์การ งานขนาดกลาง • วิศวกรโครงการหรือผู้จัดการโครงการคนเดียวกัน 1 คน ทำงานที่สำคัญได้แก่ การวางแผนงาน การจัดหา สิ่งต่างๆ วัสดุและคนงาน การต่อรองราคา ดูงานเป็นครั้งคราว พิจารณาแผนและโครงสร้างส่วนที่สำคัญและค่าใช้จ่ายมาก อาจมีเลขานุการช่วยงานเอกสารและจัดซื้อ 1 คน เป็นตัวแทนในการประชุม • วิศวกรสนาม 1-2 คน เน้นงานด้านวิศวกรรม ตรวจสอบรายละเอียดของงานที่ดำเนินไป ตรวจสอบแผนงาน ตรวจสอบแบบ ออกแบบแก้ไข ตรวจสอบวัสดุ รายงานให้ผู้จัดการโครงการตัดสินใจ อาจตัดสินใจเองได้บ้างในบางเรื่อง บางครั้งเจ้าประชุมแทนวิศวกรโครงการได้ด้วย
จัดองค์การ งานขนาดกลาง • โฟร์แมน 2-5 คน ส่วนใหญ่จะเป็นงานด้านเทคนิค ประจำหน้างานตลอดเวลา แต่ไม่มีสิทธิตัดสินใจมากนัก เร่งงานกับหัวหน้าคนงาน ทำรายงานระยะสั้น รายงานปัญหาที่สำคัญ อาจจะแบ่งส่วนงานกันได้ แล้วแต่ขนาดของงานว่าจำเป็นหรือไม่ • สโตร์ 2 คน ผลัด • เซฟตี้ 0 คน • ดราฟท์แมน ประจำอย่างน้อย 1คน (อาจใช้โฟร์แมนได้)
จัดองค์การ งานขนาดใหญ่ • ผู้จัดการโครงการ 1คน ดูงานส่วนที่สำคัญจริงๆ ดูและงบประมาณ แผนงานและการจัดซื้อวัสดุที่สำคัญๆ ประสานงานกับเจ้าของงาน • วิศวกรโครงการ 2-3 คน หรือมากกว่านั้น แบ่งงานออกเป็นส่วนๆให้รับผิดชอบ อาจมี Senior Engineer คอยควบคุม ดูแลงานเทคนิคและแผนงาน หรืออาจจะแยกเป็น Scheduler, Cost Engineer, Design Engineer เฉพาะทาง • วิศวกรสนาม 5 คนขึ้นไปเน้นงานด้านเทคนิคมากขึ้นอีก แบ่งตามงานส่วนย่อยๆมากขึ้น รายงานต่อวิศวกรโครงการ • โฟร์แมน (ตามปริมาณงานที่จำเป็น) ประจำหน้างานตลอดเวลา ประสานงาน ควบคุมงานเฉพาะจุดด้านเทคนิคเพียงอย่างเดียว อาจต้องมีจำนวนมาก
จัดองค์การ งานขนาดใหญ่ • เซฟตี้ อาจมี 1-2 คนน่าจะเพียงพอ ดูแลด้านความปลอดภัย • เลขานุการ 5-10 คน อาจจำเป็นต้องสร้างฝ่ายธุรการสนามขึ้นโดยเฉพาะ มีเจ้าหน้าที่จัดซื้อ เจ้าหน้าที่บัญชี อยู่ที่หน่วยงานเลย • สโตร์ ตามขนาดงาน • ดราฟท์แมน ตามขนาดงาน ควรจะเป็นคอมพิวเตอร์ดราฟท์ • แม่บ้าน • ยาม • แผนกซ่อมบำรุงเครื่องจักร
การวางแผนงาน • ด้านวัสดุ • ด้านเครื่องมือ • ด้านแรงงาน • จัดทำเป็นแผนการจัดหา การใช้ และแผนการเงิน
การวางแผนงาน ด้านวัสดุ • จากแผนงานหลัก List รายชื่อผู้ผลิตและผู้แทนจำหน่ายวัสดุทั้งหมด(Supplier) • ติดต่อ Supplier เพื่อตกลงเจรจาซื้อขายและต่อรองราคาวัสดุตาม Spec ที่กำหนด • และที่สำคัญคือ การกำหนดวันจัดส่งวัสดุให้สอดคล้องกับแผนงาน • จัดเตรียมที่เก็บวัสดุ เพื่อพร้อมทำงาน • ในโครงการตัวอย่างได้จัดทำแผนความต้องการใช้คอนกรีตอย่างน้อย 3 เดือน
การวางแผนงาน ด้านเครื่องมือ • จากแผนงานหลัก List แหล่งที่มาของเครื่องมือเครื่องจักรที่จำเป็นใช้ทั้งหมด ตั้งแต่เครื่องจักรหนัก เครน รถขุด รถบรรทุก ปัมพ์คอนกรีต ไปจนกระทั่งเครื่องมือขนาดย่อมเช่น โม่ปูน เครื่องจี้คอนกรีต ฯลฯ • ตัดสินใจว่าจะซื้อหรือเช่า หรือเป็นสิ่งที่บริษัทมีอยู่แล้ว • เตรียมวางแผนการใช้เงิน เช่นเดียวกับการจัดซื้อวัสดุ
การวางแผนงาน ด้านแรงงาน • จากแผนงานหลัก List จำนวนแรงงานที่ต้องใช้ และประเภทแรงงาน • แหล่งที่มาของแรงงาน Confirm การมาของแรงงาน • ดูแลเรื่องที่พัก Camp และค่าใช้จ่ายทั้งหมด • ทดสอบฝีมือแรงงาน • มาตรการด้านความปลอดภัยและเครื่องแต่งกายของแรงงาน
จัดหาคนงาน • เจ้าประจำ • ติดต่อหัวหน้างาน (Headman) • ตกลงรูปแบบค่าจ้าง พิจารณาเวลาตามแผนงาน • ควรจะมาเป็นกลุ่ม • มีการทดสอบฝีมือช่างใหม่ • ดูแลความสงบ • จัดระบบทะเบียนและการลงเวลาทำงาน
จัดหาเครื่องจักร • เครื่องจักรของบริษัท • ซื้อใหม่ เช่า • เก่า/ใหม่ • คัดเลือกชนิดและขนาดให้เหมาะกับการทำงาน • พิจารณาถึงค่าซ่อมบำรุงและค่าคนขับ • ควรใช้การวิเคราะห์เปรียบเทียบทางเศรษฐศาสตร์
จัดหาวัสดุก่อสร้าง • ตรวจสอบราคาต่อหน่วย • พิจารณาเปรียบเทียบจาก Supplier หลายๆเจ้า • ขอใบเสนอราคาเปรียบเทียบ ช่วงเวลายืนราคา • ตรวจสอบคุณภาพวัสดุ เช่น คอนกรีตผสมเสร็จ • มั่นใจว่าสามารถจัดส่งวัสดุได้ครบและทันเวลา • ซื้อจำนวนมากสามารถต่อรองราคาได้
ทักษะที่ใช้ในการจัดหาทักษะที่ใช้ในการจัดหา • การขยันหาข้อมูล • การขยันหาพันธมิตรทางธุรกิจ • เทคนิคการเจรจาต่อรอง • การติดต่อสื่อสารที่เข้าใจตรงกัน • การติดตามงาน • การบริหารงานบุคคล • การจัดหาที่ดีสามารถประหยัดเงินได้มากทีเดียว
การประชุมในหน่วยงานก่อสร้างการประชุมในหน่วยงานก่อสร้าง • ที่ประชุมเกินกึ่งหนึ่งเริ่มประชุมได้ • เริ่มจากทบทวนรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว • เรื่องสืบเนื่อง - พิจารณาเรื่องที่คุยกันครั้งที่แล้วว่ามีสืบเนื่องหรือไม่ ปัญหาได้รับการแก้ไขหรือยัง • รายงานการก่อสร้าง - แต่ละฝ่ายรายงานความก้าวหน้าและปัญหาที่เกิดขึ้น • เรื่องที่แจ้ง - หากมีเรื่องใหม่ ให้หยิบยกขึ้นมาพูดคุย • นัดวัน เวลา ประชุมครั้งหน้า
การประชุมในหน่วยงานก่อสร้างการประชุมในหน่วยงานก่อสร้าง • ตรงต่อเวลา • การรายงานต้องสั้น รวดเร็ว ได้ใจความ • พูดคุยให้ตรงประเด็นปัญหา • ทุกครั้งที่จบเรื่อง 1 เรื่องต้องหาข้อสรุปให้ได้ • การรายงาน หากเป็นเรื่องทั่วไปให้รวบรัด เน้นจุดที่สำคัญ มีปัญหา หากเรื่องใดคาดว่าจะขัดแย้งหรือกระทบฝ่ายหรือองค์กรอื่น ให้รายงานมาก่อน • เลขานุการจดบันทึกการประชุม ห้ามตกประเด็นสำคัญ
การติดต่อสื่อสาร • พูดชัดเจน • ตรงประเด็น ไม่อ้อมค้อม • ขยายให้ชัดเจนความถ้าจำเป็น • รับฟังคู่สนทนา • เข้าใจถึงความคิดของคู่สนทนา • ใช้เหตุผลในการคุย ไม่ดูที่ตัวบุคคล
การเขียน Memo • สั้น • ตรงประเด็น • อ้างอิงจากเอกสารเดิม • ใช้ภาษาเขียน ไม่ใช่ภาษาพูด • ใช้ภาษาแสดงเจตนาที่สุภาพ
เอกสารใช้ในหน่วยงานก่อสร้างDocuments in Construction
เอกสารก่อสร้าง เอกสารก่อสร้าง พอจะแย่งออกตามวัตถุประสงค์ได้ ดังนี้1. เอกสารข้อมูลโครงการ2. เอกสารการติดต่อสื่อสาร3. เอกสารสัญญา4. เอกสารการเงิน5. เอกสารทางเทคนิค6. รายงานการก่อสร้าง
เอกสารข้อมูลโครงการ - บัญชีบุคลากร- Organization Chart สายการบังคับบัญชา- หน้าที่และความรับผิดชอบ Job Description- บัญชีทรัพย์สินในหน่วยงาน อุปกรณ์ต่างๆ- เอกสารเกี่ยวกับความปลอดภัย- เอกสารคุณภาพต่างๆ
การติดต่อสื่อสาร - เอกสาร หนังสือต่างๆ เพื่อแจ้งให้อีกฝ่ายทราบ- บัญชีรับเอกสารหนังสือ เข้า-ออก- แฟกซ์- เมโม (Memo)- เอกสารขออนุมัติต่างๆ ภายในภายนอก- เอกสารแจ้งให้ทราบ- อีเมลล์
เอกสารสัญญา - สัญญาก่อสร้าง- เอกสารแนบสัญญา- ใบขออนุญาตก่อสร้าง- เอกสารรับรองควบคุมงาน- เอกสารประกันภัย- โฉนดที่ดินฯลฯ
เอกสารการเงิน -BOQ รายการประมาณราคาทั้ง BOQ เพื่อการประกวดราคาและ BOQ เพื่อการวางแผนงาน- Cashflow - ใบสั่งซื้อ ใบเสนอราคา- ใบรับของ- บันทึกการจ่ายค่าจ้างแรงงาน- บัญชีการเงิน- เอกสารงานเพิ่มลด - เอกสารเบิกงวดงาน ใบเสร็จรับเงิน
เอกสารทางเทคนิค -Specification - ตำราทางวิชาการอ้างอิง- รายการคำนวณ - แบบก่อสร้าง- Shop Drawings- รายการออกแบบแก้ไข- ตัวอย่างวัสดุ เอกสารทางทดสอบตัวอย่าง- เอกสารยื่นขอเปลี่ยนแปลง- บันทึกการตรวจหน้างาน และรายการอนุมัติ
เอกสารรายงานการก่อสร้างเอกสารรายงานการก่อสร้าง - รายงานความก้าวหน้า- Barchart แผนงานหลัก- แผนงานย่อย Short Interval Plan- แผนการใช้ทรัพยากร คนงาน เครื่องจักร - แผนการใช้วัสดุ- รายงานประจำวัน - รายงานประจำเดือน- รายงานประจำสามเดือน- บันทึกการประชุม