1.02k likes | 1.25k Views
บทที่ 4 ซอฟต์แวร์ (Software). ซอฟต์แวร์. คือ โปรแกรมคำสั่ง ที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน. ซอฟต์แวร์. ซอฟต์แวร์ระบบ. ซอฟต์แวร์ประยุกต์. ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป. ระบบปฏิบัติการ. ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะงาน. ตัวแปลภาษา. ยูทิลิตี้. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software).
E N D
บทที่ 4 ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ คือ โปรแกรมคำสั่ง ที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ระบบปฏิบัติการ ซอฟต์แวร์ใช้เฉพาะงาน ตัวแปลภาษา ยูทิลิตี้
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) คือ โปรแกรมที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ ให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ 1. ระบบปฏิบัติการ (Operating Software ) 2. โปรแกรมภาษา (Language Software) 3. โปรแกรมยูทิลิตี้ (Utility Software)
1. ? 2. ?
ระบบปฏิบัติการ ? (Operating System) คือ โปรแกรมที่เป็นส่วนเชื่อมโยง ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้
หน้าที่ของระบบปฏิบัติการหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ 1. ควบคุมการทำงานของโปรแกรม และอุปกรณ์ต่างๆ 2. จัดสรรการใช้ทรัพยากร คอมพิวเตอร์ร่วมกัน
ประเภทของระบบปฏิบัติการประเภทของระบบปฏิบัติการ 1. Dos 2. Windows 3. Mac OS 4. Unix 5. Linux
เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่อง IBM PC ในระยะแรกๆ ที่เริ่มใช้คอมพิวเตอร์ • DOS มีลักษณะการทำงานแบบ Single tasking
ทดสอบความรู้เกี่ยวกับ DOS C:\> dir A: (1. ?) A:\> copy *.doc C: (2.?) A:\> md mywork (3. ?)
2. Windows Microsoft Bill Gate
Graphic User Interface (GUI) • Windows มีลักษณะการทำงานแบบ Multi tasking คือ สามารถงานหลายๆ อย่างได้ในเวลาเดียวกัน
เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องเป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่อง แมคอินทอช (Macintosh) • นิยมใช้กับงานด้าน Graphic
เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครือข่ายเป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครือข่าย ขนาดใหญ่ • มีลักษณะเป็น Multi-user คือ ผู้ใช้หลายๆ คนสามารถเข้าไปใช้ระบบได้พร้อมกันได้
เป็นระบบปฏิบัติการที่นิยมมากยิ่งขึ้นในปัจจุบัน • มีลักษณะเป็น Open Source คือ ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สามารถแก้ไข ต้นฉบับของโปรแกรม (Source code) ได้
ระบบปฏิบัติการใด มีคนใช้มากที่สุดในปัจจุบัน ?
ระบบปฏิบัติการ ของคนไทย ?
2. โปรแกรมภาษา(Language Software) เป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นด้วยภาษา เรียกว่า “ภาษาคอมพิวเตอร์” โดยมีผู้เขียน โปรแกรม (Programmer) เป็นคนเขียนขึ้น
ประเภทของโปรแกรมภาษา • ภาษาเครื่อง (Machine Language) • ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Language) • ภาษาระดับสูง (High – level Language) - คอมไพเลอร์ (Compiler) - อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
การรู้จักข้อมูลของคอมพิวเตอร์การรู้จักข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ไม่รู้จัก “A” พิมพ์ “A” “A” = 01000001
1.ภาษาเครื่อง (Machine Language) • เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์รู้จัก และสามารถประมวลผลได้เลย • เป็นรูปแบบของตัวเลขฐานสองที่คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ทันที เช่น 10010011 11100010
ไม่ต้องอาศัยตัวแปลภาษา • เขียนโปรแกรมยาก เนื่องจากต้องทราบรหัสเลขฐานสอง และต้องมีความรู้เรื่องของฮาร์ดแวร์เป็นอย่างดี
ภาษาเครื่อง 10010010 11100010 10001000 11110000
2.ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Language) • มีการใช้สัญลักษณ์เพื่อแทนกลุ่มเลขฐานสอง เช่น ADD ใช้แทน การบวก = 11110000 MUL ใช้แทน การคูณ = 00001111
ต้องมีโปรแกรมแปลภาษา เพื่อแปลให้เป็นภาษาเครื่อง • เช่น ภาษา Assembly • ตัวแปลภาษาสัญลักษณ์ ให้เป็นภาษาเครื่อง คือ Assembler
ภาษาสัญลักษณ์ Assembler ADDA MUL C
3. ภาษาระดับสูง (High – level Language) • เป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาที่มนุษย์ใช้มากขึ้น เช่น • PRINT • WRITE • IF ... THEN…ELSE • อาจเรียกว่า Human Oriented Language
ต้องมีโปรแกรมแปลภาษา ให้เป็นภาษาเครื่อง คือ Interpreter และ Compiler • เช่น Visual Basic Visual C++ Java
ภาษาระดับสูง A = 10 B = 20 If A > B Then C = A+B PRINT C Else C = A-B PRINT C EndIF Interpreter Compiler
3. โปรแกรมยูทิลิตี้ (Utility Program) เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่อำนวยความสะดวกต่างๆ ให้กับผู้ใช้ อาจเรียกว่าโปรแกรมอรรถประโยชน์ เช่น
การตรวจความผิดปกติของ Hard disk เช่น Scan Disk • การทำความสะอาด Hard disk เช่น Disk Clean Up • การจัดเรียงข้อมูลใน Hard disk เช่น Disk Defragmenter
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป ซอฟต์แวร์เฉพาะงาน